สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (1977–1986) الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الاشتراكية มหาสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (1986–2011) الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الإشتراكية العظمى | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1977–2011 | |||||||||
![]() | |||||||||
เมืองหลวง | ตริโปลี (1977–2011) เซิร์ท (กันยายน 2011) 32°52′N 13°11′E / 32.867°N 13.183°E | ||||||||
เมืองใหญ่สุด | ตริโปลี | ||||||||
ภาษาราชการ | ภาษาอาหรับ | ||||||||
ภาษาอื่น ๆ | ภาษาอาหรับแบบลิเบีย, ภาษาเบอร์เบอร์ | ||||||||
ศาสนา | อิสลาม | ||||||||
การปกครอง | รัฐเดี่ยว ญะมาฮีรียะฮ์สังคมนิยมอิสลามและประชาธิปไตยโดยตรงภายใต้เผด็จการทางทหาร | ||||||||
ผู้นำสูงสุดแห่งลิเบีย | |||||||||
• 1977-2011 | มูอัมมาร์ กัดดาฟี | ||||||||
เลขาธิการสูงสุดแห่ง สภาประชาชนทั่วไป | |||||||||
• 1977–1979 | มูอัมมาร์ กัดดาฟี | ||||||||
• 2010-2011 | โมฮาเหม็ด อาบู อัลกอซิม อัล-ซีไว | ||||||||
เลขาธิการสูงสุดแห่ง คณะกรรมการประชาชนทั่วไป | |||||||||
• 1977–1979 | อับดุล อาตี อัล-โอบีดี | ||||||||
• 2006-2011 | แบกดาดี มาห์มูดี | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภาประชาชนทั่วไป | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น, สงครามต่อต้านการก่อการร้าย | ||||||||
• ก่อตั้ง | 2 มีนาคม 1977 | ||||||||
• ตริโปลีแตก | 28 สิงหาคม ค.ศ. 2011 | ||||||||
• กัดดาฟีถูกฆ่า | 20 ตุลาคม 2011 | ||||||||
พื้นที่ | |||||||||
1,759,541 ตารางกิโลเมตร (679,363 ตารางไมล์) | |||||||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2007 (ประมาณ) | ||||||||
• รวม | ![]() | ||||||||
• ต่อหัว | ![]() | ||||||||
สกุลเงิน | ดีนาร์ลิเบีย (LYD) | ||||||||
รหัสโทรศัพท์ | 218 | ||||||||
|
สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (อาหรับ: الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الاشتراكية[2] al-Jamāhīrīyah al-'Arabīyah al-Lībīyah ash-Sha'bīyah al-Ishtirākīyah) เป็นประเทศสังคมนิยมในแอฟริกาเหนือซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศลิเบีย โดยเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 1977 สภาประชาชนทั่วไป (GPC) นำโดยมูอัมมาร์ กัดดาฟี ได้รับรอง "ปฏิญญาการจัดตั้งอำนาจของประชาชน"[3][4] และประกาศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (อาหรับ: الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الاشتراكية[2]). ในปรัชญาการเมืองของรัฐบาลกัดดาฟี ระบบ "ญะมาฮีรียะฮ์" ถือว่าแตกต่างจากประเทศอื่นในโลก ถึงแม้ว่าจะเป็นลักษณะที่เป็นจริงของทฤษฎีสากลที่สาม ซึ่งเสนอโดยกัดดาฟีเพื่อนำไปใช้กับโลกที่สามทั้งหมดก็ตาม นอกจากนี้ สภาประชาชนยังจัดตั้งสำนักเลขาธิการทั่วไปของสภา ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เหลือของสภาบัญชาการการปฏิวัติโดยมีกัดดาฟีเป็นเลขาธิการทั่วไป และได้แต่งตั้งกรรมการประชาชนทั่วไปซึ่งเข้ามาแทนที่คณะรัฐมนตรี ซึ่งปัจจุบันสมาชิกเรียกว่าเลขานุการแทนที่จะเป็นรัฐมนตรี
รัฐบาลลิเบียประกาศว่าลิเบียเป็นประชาธิปไตยทางตรง โดยไม่มีพรรคการเมือง ปกครองโดยประชากรผ่านสภาท้องถิ่นที่ได้รับการเลือกตั้งและหน่วยการปกครองท้องถิ่น (ชื่อว่า สภาประชาชนพื้นฐาน) ทางการได้โน้มน้าวดูถูกเหยียดหยามแนวคิดรัฐชาติ และพันธะชนเผ่ายังคงมีความสำคัญมากแม้แต่ในลำดับยศทหาร[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Human Development Report 2009" (PDF). United Nations Development Programme. 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 January 2014.
- ↑ 2.0 2.1 Geographical Names, "اَلْجَمَاهِيرِيَّة اَلْعَرَبِيَّة اَللِّيبِيَّة اَلشَّعْبِيَّة اَلإِشْتِرَاكِيَّة: Libya" เก็บถาวร 11 พฤษภาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Geographic.org. Retrieved 27 February 2011.
- ↑ General People's Congress declaration (2 March 1977) at EMERglobal Lex เก็บถาวร 19 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน for the Edinburgh Middle East Report. Retrieved 31 March 2010.
- ↑ "ICL - Libya - Declaration on the Establishment of the Authority of the People". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2016. สืบค้นเมื่อ 16 May 2016.
- ↑ "Protesters Die as Crackdown in Libya Intensifies", The New York Times, 20 February 2011; accessed 20 February 2011.