สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก
สาธารณรัฐเชโกสโลวัก (1948–1960) Československá republika สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก (1960–1990) Československá socialistická republika | ||||||
รัฐบริวารของสหภาพโซเวียต | ||||||
| ||||||
| ||||||
คำขวัญ "Pravda vítězí" (เช็ก) "Truth prevails" | ||||||
เพลงชาติ Kde domov můj () "Where is my home" Nad Tatrou sa blýska () ("Lightning Over the Tatras") | ||||||
เมืองหลวง | ปราก | |||||
ภาษา | ภาษาเช็ก ภาษาสโลวัก | |||||
การปกครอง | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประชาชน (1948–60) รัฐเดี่ยว มากซ์-เลนิน พรรคเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม (1960–69) สหพันธ์สาธารณรัฐ มากซ์-เลนิน พรรคเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม (1969–89) สหพันธ์สาธารณรัฐ สาธารณรัฐระบบรัฐสภา (1989–90) | |||||
ประธานาธิบดี | ||||||
- | 1948-1953 (คนแรก) |
คลีเมนต์ ก็อตต์วอลด์ | ||||
- | 1989-1990 (คนสุดท้าย) |
วาตสลัฟ ฮาแว็ล | ||||
เลขาธิการ | ||||||
- | 1948-1953 (คนแรก) |
คลีเมนต์ ก็อตต์วอลด์ | ||||
- | 1989 (คนสุดท้าย) |
Karel Urbánek | ||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น | |||||
- | รัฐประหาร | 25 กุมภาพันธ์ 1948 | ||||
- | รัฐธรรมนูญ | 9 พฤษภาคม 1948 | ||||
- | สถาปนาสหพันธสาธารณรัฐ | 23 เมษายน 1990 | ||||
พื้นที่ | ||||||
- | 1992 | 127,900 ตร.กม. (49,382 ตารางไมล์) | ||||
ประชากร | ||||||
- | 1992 ประมาณการ | 15,600,000 | ||||
ความหนาแน่น | 122 คน/ตร.กม. (315.9 คน/ตารางไมล์) | |||||
สกุลเงิน | โครูนาเชโกสโลวาเกีย |
กลุ่มตะวันออก |
---|
![]() |
สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต |
พันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ |
ความไม่พอใจและการต่อต้าน
|
การเสื่อมอำนาจ |
สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก (เช็กและสโลวัก: Československá socialistická republika) เป็นชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของ "สาธารณรัฐเช็ก" หรือ "ประเทศเช็กเกีย" เป็นประเทศในยุครัฐคอมมิวนิสต์ปกครองในระบบ "พรรคคอมมิวนิสต์เชโกสโลวัก" ตั้งแต่ "คลีเมนต์ ก็ออต์วลอด์" เป็นประธานาธิบดีคนแรก และเป็นผู้ก่อตั้งประเทศ สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก ได้รับสนธิสัญญวอร์ซอและเป็นอดีตรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่ ค.ศ. 1948 ถึง ค.ศ. 1989
ประวัติ[แก้]
พรรคคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลในเชโกสโลวาเกียมาโดยตลอด จนกระทั่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 1960 ได้เริ่มมีการเคลื่อนไหวเพื่อการปฏิรูปที่เรียกว่า ปรากสปริง ภายใต้การนำของนายอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค (Alexander Dubček) เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและประเทศอื่นในกลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) เกรงว่าความเคลื่อนไหวดังกล่าวจะเป็นภัยคุกคามต่อระบบคอมมิวนิสต์ จึงได้ยกกองกำลังเข้าไปในเชโกสโลวาเกียเมื่อปี พ.ศ. 2511 และจัดตั้งระบบคอมมิวนิสต์ที่เข้มงวดขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีแนวคิดต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ในเชโกสโลวาเกีย
หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง เชโกสโลวะเกียได้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอย่างสันติ โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การปฏิวัติเวลเวต (Velvet Revolution) และนายวาคลัฟ ฮาเวล (Václav Havel) ซึ่งเป็นผู้นำกลุ่มเคลื่อนไหวต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ ได้รับเลือกตั้งให้เป็นประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกียในปี พ.ศ. 2532
รัฐบาลเชโกสโลวาเกียได้มีมติเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2536 ให้สลายประเทศเชโกสโลวาเกีย และแบ่งออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก (สโลวาเกีย) ซึ่งเป็นกระบวนการที่เรียกว่า Velvet Divorce ต่อมา นายวาคลัฟ ฮาเวลได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐเช็กในปี พ.ศ. 2536 และได้รับเลือกตั้งเป็นครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2541 จนกระทั่งหมดวาระ (วาระละ 5 ปี) เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 และนายวาคลัฟ เคลาอุส (Vaclav Klaus) ได้เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสืบต่อ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546
อ้างอิง[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
|