ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
add english wikilink
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์''' (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ เป็น[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย|เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา<ref name="พรบ">ราชกิจจาุนุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/A/185.PDF พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๔, หน้า ๑๘๕ </ref> เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 5 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/029/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย], เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๖, หน้า ๑ </ref> ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว
'''เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์''' (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ เป็น[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย|เครื่องราชอิสริยาภรณ์]]อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา<ref name="พรบ">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/A/185.PDF พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๑๘๕ </ref> เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 5 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/029/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย], เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑ </ref> ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว


== ลักษณะของตรารัตนวราภรณ์ ==
== ลักษณะของตรารัตนวราภรณ์ ==
=== ฝ่ายหน้า ===
=== ฝ่ายหน้า ===
[[ภาพ:ตรารัตนวราภรณ์.jpg|thumb|220px|เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์]]
[[ภาพ:ตรารัตนวราภรณ์.jpg|thumb|220px|เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์]]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายหน้า กลางดวงตราเป็นรูปวงกลม กรอบประดับเพชร ขนาด 2.5 เซนติเมตร มีอักษร[[พระบรมนามาภิไธย]]ย่อ "ร.ร." กับเลข "๖" ประดับ[[เพชร]] หมายความว่า [[สมเด็จพระรามราชาธิบดีที่ 6]] อยู่ภายในวงกลมบนพื้นลงยาสีขาบที่กรอบวงกลมทั้ง 4 ทิศ เป็นรูปพระวชิราวุธ มีรูปพระแสงศรกำลังรามทำด้วยทองไขว้ คันศรยื่นออกในระหว่างพระวชิราวุธทั้ง 4 ทิศ และมีรูปคมศรเพชรแทรกระหว่างพระวชิราวุธกับพระแสงศรกำลังราม 8 แสก เบื้องบนมี[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]ประดับเพชร ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) ร้อยด้วยแพรแถบสีเหลืองขอบดำริมเหลือง กว้าง 3 เซนติเมตร ใช้สำหรับคล้องคอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/A/245.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ กระแสพระบรมราชโองการแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๑, หน้า ๒๔๕ </ref>
เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายหน้า กลางดวงตราเป็นรูปวงกลม กรอบประดับเพชร ขนาด 2.5 เซนติเมตร มีอักษร[[พระบรมนามาภิไธย]]ย่อ "ร.ร." กับเลข "๖" ประดับ[[เพชร]] หมายความว่า [[สมเด็จพระรามราชาธิบดีที่ 6]] อยู่ภายในวงกลมบนพื้นลงยาสีขาบที่กรอบวงกลมทั้ง 4 ทิศ เป็นรูปพระวชิราวุธ มีรูปพระแสงศรกำลังรามทำด้วยทองไขว้ คันศรยื่นออกในระหว่างพระวชิราวุธทั้ง 4 ทิศ และมีรูปคมศรเพชรแทรกระหว่างพระวชิราวุธกับพระแสงศรกำลังราม 8 แสก เบื้องบนมี[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]ประดับเพชร ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) ร้อยด้วยแพรแถบสีเหลืองขอบดำริมเหลือง กว้าง 3 เซนติเมตร ใช้สำหรับคล้องคอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/A/245.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ กระแสพระบรมราชโองการแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑, หน้า ๒๔๕ </ref>


=== ฝ่ายใน ===
=== ฝ่ายใน ===


เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายในนั้น ดวงตรามีเรือนทองกลมขนาด 3 เซนติเมตร ขอบประดับเพชร พื้นกลางลงยาสีขาบ มีอักษรพระนามาภิไธยย่อ ร.ร.๖ ประดับเพชร มีห่วงเป็นรูปพระมหาพิชัยมงกุฎขนาด 2 เซนติเมตร ประดับเพชร ข้างขอบเป็นรูปนาคสลับกับเพชราวุธ 4 มุม ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรจุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) เหนือพระมหาพิชัยมงกุฎมีอุณาโลมประดับเพชรและห่วงห้อยดวงตรา กับมีสังวาลย์อักษรพระบรมนามาภิไธยย่อ ราม.ร.๖ ทองลงยา ขั้นสลับกับพระมหาพิชัยมงกุฎ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/A/302.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๙, ตอน ๐ ก, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๕, หน้า ๓๐๒ </ref>
เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายในนั้น ดวงตรามีเรือนทองกลมขนาด 3 เซนติเมตร ขอบประดับเพชร พื้นกลางลงยาสีขาบ มีอักษรพระนามาภิไธยย่อ ร.ร.๖ ประดับเพชร มีห่วงเป็นรูปพระมหาพิชัยมงกุฎขนาด 2 เซนติเมตร ประดับเพชร ข้างขอบเป็นรูปนาคสลับกับเพชราวุธ 4 มุม ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรจุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) เหนือพระมหาพิชัยมงกุฎมีอุณาโลมประดับเพชรและห่วงห้อยดวงตรา กับมีสังวาลย์อักษรพระบรมนามาภิไธยย่อ ราม.ร.๖ ทองลงยา ขั้นสลับกับพระมหาพิชัยมงกุฎ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2465/A/302.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตรารัตนวราภรณ์], เล่ม ๓๙, ตอน ๐ ก, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๕, หน้า ๓๐๒ </ref>


== ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ ==
== ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:18, 16 มิถุนายน 2551

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา[1] เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 5 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[2] ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว

ลักษณะของตรารัตนวราภรณ์

ฝ่ายหน้า

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายหน้า กลางดวงตราเป็นรูปวงกลม กรอบประดับเพชร ขนาด 2.5 เซนติเมตร มีอักษรพระบรมนามาภิไธยย่อ "ร.ร." กับเลข "๖" ประดับเพชร หมายความว่า สมเด็จพระรามราชาธิบดีที่ 6 อยู่ภายในวงกลมบนพื้นลงยาสีขาบที่กรอบวงกลมทั้ง 4 ทิศ เป็นรูปพระวชิราวุธ มีรูปพระแสงศรกำลังรามทำด้วยทองไขว้ คันศรยื่นออกในระหว่างพระวชิราวุธทั้ง 4 ทิศ และมีรูปคมศรเพชรแทรกระหว่างพระวชิราวุธกับพระแสงศรกำลังราม 8 แสก เบื้องบนมีพระมหาพิชัยมงกุฎประดับเพชร ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) ร้อยด้วยแพรแถบสีเหลืองขอบดำริมเหลือง กว้าง 3 เซนติเมตร ใช้สำหรับคล้องคอ[3]

ฝ่ายใน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์สำหรับฝ่ายในนั้น ดวงตรามีเรือนทองกลมขนาด 3 เซนติเมตร ขอบประดับเพชร พื้นกลางลงยาสีขาบ มีอักษรพระนามาภิไธยย่อ ร.ร.๖ ประดับเพชร มีห่วงเป็นรูปพระมหาพิชัยมงกุฎขนาด 2 เซนติเมตร ประดับเพชร ข้างขอบเป็นรูปนาคสลับกับเพชราวุธ 4 มุม ด้านหลังมีตลับแก้วสำหรับบรรจุเส้นพระเจ้า (เส้นผม) เหนือพระมหาพิชัยมงกุฎมีอุณาโลมประดับเพชรและห่วงห้อยดวงตรา กับมีสังวาลย์อักษรพระบรมนามาภิไธยย่อ ราม.ร.๖ ทองลงยา ขั้นสลับกับพระมหาพิชัยมงกุฎ[4]

ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะทรงพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ตามพระราชประสงค์ แต่จะพระราชทานสำหรับข้าราชการและประพฤติตนเป็นที่ต้องพระราชอัธยาศัย โดยห้ามมิให้ผู้ใดกราบบังคมทูลขอพระราชทานเพื่อตนเองหรือกราบบังคมทูลแนะนำเพื่อพระราชทานแก่ผู้อื่นเป็นอันขาด

ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ จะได้รับพระราชทานประกาศนียบัตรกำกับไว้ด้วย โดยถ้าผู้ได้รับพระราชทานเสียชีวิตลง สามารถมอบตรารัตนวราภรณ์ให้แก่ผู้รับมรดกเพื่อไว้เป็นเครื่องสักการะบูชาต่อไป โดยไม่ต้องส่งคืน แต่จะไม่สามารถประดับตรานี้ได้[1]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตรารัตนวราภรณ์, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๔, หน้า ๑๘๕
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ลำดับเกียรติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย, เล่ม ๑๑๐, ตอน ๒๙ง ฉบับพิเศษ, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖, หน้า ๑
  3. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ กระแสพระบรมราชโองการแก้ไขพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑, หน้า ๒๔๕
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เพิ่มเติมข้อความในพระราชบัญญัติเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตรารัตนวราภรณ์, เล่ม ๓๙, ตอน ๐ ก, ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๕, หน้า ๓๐๒

แหล่งข้อมูลอื่น