เอเชียนคัพ 2011

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอเอฟซี เอเชียนคัพ 2011
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพกาตาร์
วันที่7 มกราคม – 29 มกราคม
ทีม16
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
อันดับที่ 3ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
อันดับที่ 4ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู90 (2.81 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม405,361 (12,668 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุด เกาหลีใต้ Koo Ja-Cheol (5 goals)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น เคสุเกะ ฮอนดะ
2007
2015
ผลการแข่งในเอเชียนคัพ 2011
Final qualification status
  ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก
  ทีมที่ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

เอเชียนคัพ 2011 (Asian Cup 2011) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 15 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 มกราคม พ.ศ. 2554 ที่ประเทศกาตาร์ ระบบการแข่งขันรอบคัดเลือกในครั้งนี้จะมีการปรับเปลี่ยนจากการแข่งขันจากที่ผ่านมา คือจะมีทีมชนะเลิศจากเอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ เข้ามาร่วมแข่งขันด้วย

เจ้าภาพ[แก้]

ในการคัดเลือกเจ้าภาพ มีสามประเทศที่เข้าร่วมคัดเลือกเป็นเจ้าภาพ ดังนี้ คือ กาตาร์, อินเดีย และ อิหร่าน โดยมีเพียงกาตาร์ประเทศเดียวที่ได้ยื่นเอกสารประมูลในครั้งนี้ และได้มีการประกาศอย่างเป็นทางการว่า กาตาร์จะได้เป็นเจ้าภาพระหว่างช่วงการแข่งขัน เอเชียนคัพ 2007

ในการแข่งขันครั้งนี้ได้มีการกำหนดการแข่งในช่วงมกราคมแทนที่การแข่งขันปกติในช่วงกรกฎาคม โดยทางสมาคมได้ให้คำแนะนำว่าช่วงฤดูร้อนของแถบตะวันออกกลาง จะเป็นช่วงเวลาที่ร้อนเกินไปในการแข่งขันฟุตบอล

สิทธิในการเข้าร่วมแข่ง[แก้]

ทีมเจ้าภาพ และ ทีมในอันดับ 1 2 และ 3 จากการแข่งขันที่ผ่านมา ไม่จำเป็นต้องแข่งขันในรอบคัดเลือก โดยทีมที่เหลือจะใช้การคัดเลือกผ่านการแข่งขันเอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ ในปี 2008 (พ.ศ. 2551) และ 2010 (พ.ศ. 2553) โดยผู้ชนะการแข่งขันจากทั้งสองปีจะมีสิทธิเข้าร่วมแข่งขันในเอเชียนคัพรอบสุดท้าย ซึ่งถ้าทีมที่ชนะเป็นทีมเดียวกัน ทีมรองชนะเลิศในปี 2010 จะได้สิทธิการแข่งขัน

ทีมที่มีสิทธิร่วมเล่นในรอบสุดท้ายแล้ว


การจับฉลากแบ่งกลุ่ม[แก้]

ผลการจับสลากแบ่งกลุ่มในฟุตบอลเอเชียนคัพรอบสุดท้าย

กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C กลุ่ม D

สนามที่ใช้ในการแข่งขัน[แก้]

Doha Al Rayyan Doha
Khalifa International Stadium Ahmed bin Ali Stadium Thani bin Jassim Stadium
Capacity: 40,000 Capacity: 44,740 Capacity: 44,740
Doha Doha
Suheim Bin Hamad Stadium Jassim Bin Hamad Stadium
Capacity: 12,000 Capacity: 14,000

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

Group A[แก้]

Uzbekistan surprised the group by defeating Qatar in the opening match and defeating highly favoured Kuwait. Qatar picked themselves up after the opening loss and won the remaining two games. 2011 AFC Asian Cup Group A

Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 3 2 1 0 6 3 +3 7
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 3 2 0 1 5 2 +3 6
ธงชาติจีน จีน 3 1 1 1 4 4 0 4
ธงชาติคูเวต คูเวต 3 0 0 3 1 7 −6 0
7 January 2011
กาตาร์ ธงชาติประเทศกาตาร์ 0–2 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
8 January 2011
คูเวต ธงชาติคูเวต 0–2 ธงชาติจีน จีน
12 January 2011
อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน 2–1 ธงชาติคูเวต คูเวต
จีน ธงชาติจีน 0–2 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์
16 January 2011
กาตาร์ ธงชาติประเทศกาตาร์ 3–0 ธงชาติคูเวต คูเวต
จีน ธงชาติจีน 2–2 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน

Group B[แก้]

Jordan were major underdogs going into the group against powerhouses Japan and 2007 runners up Saudi Arabia, but surprised the football world by taking second place in the group.

Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 2 1 0 8 2 +6 7
ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน 3 2 1 0 4 2 +2 7
ธงชาติซีเรีย ซีเรีย 3 1 0 2 4 5 −1 3
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 1 8 −7 0
9 January 2011
ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น 1–1 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
ซาอุดีอาระเบีย ธงชาติซาอุดีอาระเบีย 1–2 ธงชาติซีเรีย ซีเรีย
13 January 2011
จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน 1–0 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย
ซีเรีย ธงชาติซีเรีย 1–2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
17 January 2011
ซาอุดีอาระเบีย ธงชาติซาอุดีอาระเบีย 0–5 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
จอร์แดน ธงชาติจอร์แดน 2–1 ธงชาติซีเรีย ซีเรีย

Group C[แก้]

Group C went down exactly as most people predicted with the 2 giants in Australia and South Korea going through.

Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 2 1 0 6 1 +5 7
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 2 1 0 7 3 +4 7
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 3 1 0 2 6 5 +1 3
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 3 0 0 3 3 13 −10 0
10 January 2011
อินเดีย ธงชาติอินเดีย 0–4 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 2–1 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
14 January 2011
ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 1–1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
บาห์เรน ธงชาติบาห์เรน 5–2 ธงชาติอินเดีย อินเดีย
18 January 2011
เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้ 4–1 ธงชาติอินเดีย อินเดีย
ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 1–0 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน

Group D[แก้]

Powerhouses Iran and defending champions Iraq both went through as expected, but the surprise of the group was the performance of the United Arab Emirates who scored no goals and had a player score an own goal in two consecutive matches. Amongst all teams in the Group stage (in all four groups), Iran was the only team to win all its games and advance with the full 9 points. 2011 AFC Asian Cup Group D

Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 3 3 0 0 6 1 +5 9
ธงชาติอิรัก อิรัก 3 2 0 1 3 2 +1 6
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 3 0 1 2 0 2 −2 1
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 0 1 2 0 4 −4 1
11 January 2011
เกาหลีเหนือ ธงชาติเกาหลีเหนือ 0–0 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
อิรัก ธงชาติอิรัก 1–2 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
15 January 2011
อิหร่าน ธงชาติอิหร่าน 1–0 ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates 0–1 ธงชาติอิรัก อิรัก
18 January 2011
อิรัก ธงชาติอิรัก 1–0 ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates 0–3 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน

รอบแพ้คัดออก[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
21 January - Doha        
 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน  2
25 January - Doha
 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน  1  
 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน  0
22 January - Doha
   ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  6  
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (a.e.t.)  1
29 January - Doha
 ธงชาติอิรัก อิรัก  0  
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  0
21 January - Doha
   ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (a.e.t.)  1
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  3
25 January - Doha
 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์  2  
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (pen.)  2 (3) ชิงอันดับที่ 3
22 January - Doha
   ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  2 (0)  
 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน  0  ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน  2
 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (a.e.t.)  1    ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  3
28 January - Doha

All times are Arabian Standard Time (AST) – UTC+3

Quarter-finals[แก้]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น3 – 2ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์
คางาวะ Goal 29'71'
Inoha Goal 89'
Report Soria Goal 13'
Fábio César Goal 63'
ผู้ชม: 19,479
ผู้ตัดสิน: Subkhiddin Mohd Salleh (Malaysia)

อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน2 – 1ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน
Bakayev Goal 47'49' Report B. Bani Yaseen Goal 58'
ผู้ชม: 16,073
ผู้ตัดสิน: Malik Abdul Bashir (Singapore)


Semi-finals[แก้]


อุซเบกิสถาน ธงชาติอุซเบกิสถาน0 – 6ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Report Kewell Goal 5'
Ognenovski Goal 35'
Carney Goal 65'
Emerton Goal 73'
Valeri Goal 82'
Kruse Goal 83'
ผู้ชม: 24,826
ผู้ตัดสิน: Ali Al Badwawi (UAE)

Third place playoff[แก้]

Final[แก้]

รางวัลพิเศษ[แก้]

ชนะเลิศ[แก้]

 ชนะเลิศเอเชียนคัพ 2011 
ธงชาติญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
สมัยที่ 4

Individual Awards[แก้]

ยิงประตูสูงสุด ผู้เล่นทรงคุณค่า แฟร์ เพลย์
เกาหลีใต้ Koo Ja-Cheol ญี่ปุ่น เคซุเกะ ฮนดะ ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้

อันดับดาวซัลโว[แก้]

5 ประตู:

4 ประตู:

3 ประตู:

2 ประตู:

1 ประตู:

1 การทำเข้าประตูตัวเอง:

2 การทำเข้าประตูตัวเอง:

สถิติทีม[แก้]

ตารางแสดงผลงานของทุกทีม

Pos Team Pld W D L GF GA GD Pts Eff
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 6 4 2 0 14 6 +8 14 77.8%
2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 6 4 1 1 13 2 +11 13 72.2%
3 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 6 4 2 0 13 7 +6 14 77.8%
4 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 6 3 1 2 10 13 −3 10 55.6%
Eliminated in the Quarterfinals
5 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 4 3 0 1 6 2 +4 9 75.0%
6 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน 4 2 1 1 5 4 +1 7 58.3%
7 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 4 2 0 2 7 5 +2 6 50.0%
8 ธงชาติอิรัก อิรัก 4 2 0 2 3 3 0 6 50.0%
Eliminated in the First Stage
9 ธงชาติจีน จีน 3 1 1 1 4 4 0 4 44.4%
10 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 3 1 0 2 6 5 +1 3 33.3%
11 ธงชาติซีเรีย ซีเรีย 3 1 0 2 4 5 −1 3 33.3%
12 ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 3 0 1 2 0 2 −2 1 11.1%
13 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 0 1 2 0 4 −4 1 11.1%
14 ธงชาติคูเวต คูเวต 3 0 0 3 1 7 −6 0 0.0%
15 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 3 0 0 3 1 8 −7 0 0.0%
16 ธงชาติอินเดีย อินเดีย 3 0 0 3 3 13 −10 0 0.0%

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]