ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระตำหนักดอยตุง"

พิกัด: 20°17′18″N 99°48′35″E / 20.288306°N 99.809806°E / 20.288306; 99.809806
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = พระตำหนักดอยตุง
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = พระตำหนักดอยตุง
| ชื่อภาษาอื่น =
| ชื่อภาษาอื่น =
| ภาพ = LN-Phra Tamnak Doi Tung.png
| ภาพ = Doi Tung royal villa.jpg
| คำบรรยายภาพ = [[อักษรล้านนา]]คำว่า "พระตำหนักดอยตุง"
| คำบรรยายภาพ = พระตำหนักดอยตุง
| โลโก้ = LN-Phra Tamnak Doi Tung.png
| คำบรรยายโลโก้ = [[อักษรล้านนา]]คำว่า "พระตำหนักดอยตุง"
| สิ่งก่อสร้าง = พระตำหนัก
| สิ่งก่อสร้าง = พระตำหนัก
| เมืองที่ตั้ง = [[อำเภอแม่ฟ้าหลวง]] [[จังหวัดเชียงราย]]
| เมืองที่ตั้ง = [[อำเภอแม่ฟ้าหลวง]] [[จังหวัดเชียงราย]]
บรรทัด 27: บรรทัด 30:
| หมายเหตุ =
| หมายเหตุ =
}}
}}
[[ไฟล์:Doi Tung royal villa.jpg|thumb|200px|พระตำหนักดอยตุง]]
'''พระตำหนักดอยตุง''' ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 บ้านมูเซอลาบา ตำบลแม่ฟ้าหลวง [[อำเภอแม่ฟ้าหลวง]] [[จังหวัดเชียงราย]] บริเวณสันเขาของเทือกดอยนางนอน ระดับความสูงประมาณ 1,200 ม. เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาดอยตุง เป็นที่ที่น่าเที่ยว


'''พระตำหนักดอยตุง''' ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 บ้านมูเซอลาบา ตำบลแม่ฟ้าหลวง [[อำเภอแม่ฟ้าหลวง]] [[จังหวัดเชียงราย]] บริเวณสันเขาของเทือกดอยนางนอน ระดับความสูงประมาณ 1,200 ม. เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาดอยตุง เป็นที่ที่น่าเที่ยว
<br />


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
พระตำหนักดอยตุงเริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เมื่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 88 พรรษา โดยก่อนหน้านั้นมีพระราชกระแสว่า หลังพระชนมายุ 90 พรรษา จะไม่เสด็จไปประทับที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานราชเลขานุการในพระองค์ จึงได้เลือกดอยตุง ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงาม ขณะเดียว กันสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เมื่อทรงทอดพระเนตรพื้นที่ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2530 ก็ทรงพอพระราชหฤทัย และมีพระราชดำริจะสร้างบ้านที่ดอยตุงพร้อมกันนี้ ยังมีพระราชกระแสรับสั่งว่าจะ ปลูกป่าบนดอยสูงจึงกำเนิดเป็น โครงการพัฒนาดอยตุงขึ้น โครงการพัฒนาดอยตุงเริ่มดำเนินการโดยความร่วมมือจากหน่วยราชการทุกส่วน เช่น กรมป่าไม้ กรมชลประทาน หน่วยงานด้านปกครอง นอกจากทำการปลูกป่าฟื้นฟูสภาพพื้นที่แล้วยังมีการฝึกอาชีพ เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวเขาบนดอยตุง ซึ่งประกอบด้วยชาวเขาเผ่าอาข่าลาหู่ ไทยใหญ่ และจีนฮ่อ ขณะเดียว กันยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนไว้
พระตำหนักดอยตุงเริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เมื่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 88 พรรษา โดยก่อนหน้านั้นมีพระราชกระแสว่า หลังพระชนมายุ 90 พรรษา จะไม่เสด็จไปประทับที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานราชเลขานุการในพระองค์ จึงได้เลือกดอยตุง ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงาม ขณะเดียว กันสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เมื่อทอดพระเนตรพื้นที่ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2530 ก็ทรงพอพระราชหฤทัย และมีพระราชดำริจะสร้างบ้านที่ดอยตุงพร้อมกันนี้ ยังมีพระราชกระแสรับสั่งว่าจะ ปลูกป่าบนดอยสูงจึงกำเนิดเป็น โครงการพัฒนาดอยตุงขึ้น โครงการพัฒนาดอยตุงเริ่มดำเนินการโดยความร่วมมือจากหน่วยราชการทุกส่วน เช่น กรมป่าไม้ กรมชลประทาน หน่วยงานด้านปกครอง นอกจากทำการปลูกป่าฟื้นฟูสภาพพื้นที่แล้วยังมีการฝึกอาชีพ เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวเขาบนดอยตุง ซึ่งประกอบด้วยชาวเขาเผ่าอาข่าลาหู่ ไทยใหญ่ และจีนฮ่อ ขณะเดียว กันยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนไว้

==สถานที่ภายในพระตำหนัก==
== สถานที่ภายในพระตำหนัก ==
*1.หอพระราชประวัติ ซึ่งตั้งอยู่ด้านหน้าสุดของพระตำหนัก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า ภายในแบ่งเป็นห้องต่างๆ แปดห้อง ดังนี้
;1.หอพระราชประวัติ
*ห้องแรก แผ่นดินไทยฟ้ามืด กล่าวถึงการเสด็จถวายพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อวันที่ 10 มี.ค.2539
หอพระราชประวัติ ซึ่งตั้งอยู่ด้านหน้าสุดของพระตำหนัก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า ภายในแบ่งเป็นห้องต่างๆ แปดห้อง ดังนี้
*ห้องที่ 2 ฉันจะเดินทางด้วยเรือลำนี้ แสดงถึงปรัชญาในการดำเนินพระชนม์ชีพ ที่ประกอบด้วยหลักเหตุผล และการสร้างสรรค์ทางศิลปะ
* ห้องแรก แผ่นดินไทยฟ้ามืด กล่าวถึงการเสด็จถวายพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อวันที่ 10 มี.ค.2539
*ห้องที่ 3 ภูมิธรรม ประมวลความสนพระทัยในหลักธรรมคำสั่งสอน
* ห้องที่ 2 ฉันจะเดินทางด้วยเรือลำนี้ แสดงถึงปรัชญาในการดำเนินพระชนม์ชีพ ที่ประกอบด้วยหลักเหตุผล และการสร้างสรรค์ทางศิลปะ
*ห้องที่ 4 หนึ่งศตวรรษ เป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า และเฉลิมฉลองในวาระ 100 ปีแห่งการพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ. 2443 ทั้งนี้ ทรงพระปรีชาชาญ ในการอภิบาลพระธิดา และพระโอรสที่ต่อมาได้เถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็น พระมหากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งทรงนำความรู้ใหม่ๆ มาใช้ในงานบำบัดทุกข์บำรุงสุขของพสกนิกร จนองค์การยูเนสโก ได้ประกาศพระนามในปฏิทินบุคคลสำคัญของโลก
* ห้องที่ 3 ภูมิธรรม ประมวลความสนพระทัยในหลักธรรมคำสั่งสอน
*ห้องที่ 5 เวลาเป็นของมีค่า กล่าวถึงงานฝีมือต่างๆ ของพระองค์ที่ใช้พระราชทานแก่บุคคลต่างๆ
* ห้องที่ 4 หนึ่งศตวรรษ เป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า และเฉลิมฉลองในวาระ 100 ปีแห่งการพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ. 2443 ทั้งนี้ ทรงพระปรีชาชาญ ในการอภิบาลพระธิดา และพระโอรสที่ต่อมาได้เถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็น พระมหากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งทรงนำความรู้ใหม่ๆ มาใช้ในงานบำบัดทุกข์บำรุงสุขของพสกนิกร จนองค์การยูเนสโก ได้ประกาศพระนามในปฏิทินบุคคลสำคัญของโลก
*ห้องที่ 6 พระมารดาแห่งการแพทย์ชนบทและการสาธารณสุขไทย
* ห้องที่ 5 เวลาเป็นของมีค่า กล่าวถึงงานฝีมือต่างๆ ของพระองค์ที่ใช้พระราชทานแก่บุคคลต่างๆ
*ห้องที่ 7 พระผู้อภิบาล บรรยายถึงความเป็นพระผู้อภิบาลธรรมชาติ
* ห้องที่ 6 พระมารดาแห่งการแพทย์ชนบทและการสาธารณสุขไทย
*ห้องที่ 8 ดอยตุงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน กล่าวถึงโครงการพัฒนาดอยตุงที่เป็นโครงการพัฒนาระยะยาว เน้นการ อนุรักษ์ธรรมชาติและคุณภาพชีวิตของประชาชน
* ห้องที่ 7 พระผู้อภิบาล บรรยายถึงความเป็นพระผู้อภิบาลธรรมชาติ
*2.สวนแม่ฟ้าหลวง
* ห้องที่ 8 ดอยตุงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน กล่าวถึงโครงการพัฒนาดอยตุงที่เป็นโครงการพัฒนาระยะยาว เน้นการ อนุรักษ์ธรรมชาติและคุณภาพชีวิตของประชาชน
[[ภาพ:DoiTungGarden.JPG|thumb|left|250px|สวนแม่ฟ้าหลวง]]

;2.สวนแม่ฟ้าหลวง
[[ไฟล์:DoiTungGarden.JPG|thumb|right|250px|สวนแม่ฟ้าหลวง]]
เป็นสวนดอกไม้เมืองหนาว ในหุบเขา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 เดิมมีพื้นที่ 12 ไร่ มีการปลูกดอกไม้หมุนเวียนสลับ ให้ออกดอกไม่ซ้ำกันตลอดสามฤดู ล้อมรอบประติมากรรมชื่อ "ความต่อเนื่อง" เป็นรูปเด็กยืนต่อตัวที่กลางสวน นอกจากนี้ ยังจัดแต่งสวนหินซึ่งประดับด้วยหินภูเขากลมเกลี้ยงขนาดใหญ่ สวนน้ำอุดมด้วยไม้น้ำพันธุ์ต่างๆ บัว และสวนปาล์มที่รวบ รวมปาล์มไว้มากมายในพื้นที่ 13 ไร่ สวนแม่ฟ้าหลวงจึงมีพื้นที่ทั้งสิ้น 25 ไร่
เป็นสวนดอกไม้เมืองหนาว ในหุบเขา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 เดิมมีพื้นที่ 12 ไร่ มีการปลูกดอกไม้หมุนเวียนสลับ ให้ออกดอกไม่ซ้ำกันตลอดสามฤดู ล้อมรอบประติมากรรมชื่อ "ความต่อเนื่อง" เป็นรูปเด็กยืนต่อตัวที่กลางสวน นอกจากนี้ ยังจัดแต่งสวนหินซึ่งประดับด้วยหินภูเขากลมเกลี้ยงขนาดใหญ่ สวนน้ำอุดมด้วยไม้น้ำพันธุ์ต่างๆ บัว และสวนปาล์มที่รวบ รวมปาล์มไว้มากมายในพื้นที่ 13 ไร่ สวนแม่ฟ้าหลวงจึงมีพื้นที่ทั้งสิ้น 25 ไร่

*3. อาคารพระตำหนักดอยตุง
;3. อาคารพระตำหนักดอยตุง
โดยลักษณะการก่อสร้าง เป็นการผสมผสานระหว่าง สถาปัตยกรรมล้านนา บ้านปีกไม้ และบ้านแบบพื้นเมือง ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มี ๒ ชั้น และชั้นลอยที่ประทับ ชั้นบนแยกเป็น ๔ ส่วน ทว่าเชื่อมเป็นอาคารหลังเดียวกัน เสมอกับลานกว้าง ของยอดเนินเขาภายในประกอบด้วย
โดยลักษณะการก่อสร้าง เป็นการผสมผสานระหว่าง สถาปัตยกรรมล้านนา บ้านปีกไม้ และบ้านแบบพื้นเมือง ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มี ๒ ชั้น และชั้นลอยที่ประทับ ชั้นบนแยกเป็น ๔ ส่วน ทว่าเชื่อมเป็นอาคารหลังเดียวกัน เสมอกับลานกว้าง ของยอดเนินเขาภายในประกอบด้วย
ชั้นบนที่แยกออกเป็น ๔ ส่วนนั้น ได้แก่ ที่ประทับของ สมเด็จพระศรีนคริทราบรมราชชนนี ซึ่งประกอบด้วยห้องพระโรง และห้องเตรียมพระกระยาหาร นอกจากนี้ เป็นห้อง ท่านผู้หญิงทัศนาวลัยฯ และที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ชั้นบนที่แยกออกเป็น ๔ ส่วนนั้น ได้แก่ ที่ประทับของ สมเด็จพระศรีนคริทราบรมราชชนนี ซึ่งประกอบด้วยห้องพระโรง และห้องเตรียมพระกระยาหาร นอกจากนี้ เป็นห้อง ท่านผู้หญิงทัศนาวลัยฯ และที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
บรรทัด 56: บรรทัด 61:
ฝาผนังท้องพระโรงด้านหนึ่ง บุด้วยผ้าปักรูปดอกไม้นานาพันธุ์ บนผ้าไหม ซึ่งชาวบ้านอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ น้อมเกล้าฯ ถวาย ส่วนอีกด้านหนึ่ง แขวนผ้าปักครอสติสรูปดอกไม้ จากฝีพระหัตถ์ของพระองค์
ฝาผนังท้องพระโรงด้านหนึ่ง บุด้วยผ้าปักรูปดอกไม้นานาพันธุ์ บนผ้าไหม ซึ่งชาวบ้านอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ น้อมเกล้าฯ ถวาย ส่วนอีกด้านหนึ่ง แขวนผ้าปักครอสติสรูปดอกไม้ จากฝีพระหัตถ์ของพระองค์
บริเวณด้านหน้าของพระตำหนัก ยังมีสวนดอกไม้ประดับนานาพันธุ์ เรียกว่า “ สวนแม่ฟ้าหลวง ” มีเนื้อที่ประมาณ ๑๐ ไร่ ออกแบบรูปทรง เป็นลายผ้าพื้นเมืองเหนือด้วยการปลูกไม้ดอกเมืองหนาว หลากหลายพันธุ์ เปิดให้ประชาชนเข้าชม ได้โดยเก็บค่าบำรุง
บริเวณด้านหน้าของพระตำหนัก ยังมีสวนดอกไม้ประดับนานาพันธุ์ เรียกว่า “ สวนแม่ฟ้าหลวง ” มีเนื้อที่ประมาณ ๑๐ ไร่ ออกแบบรูปทรง เป็นลายผ้าพื้นเมืองเหนือด้วยการปลูกไม้ดอกเมืองหนาว หลากหลายพันธุ์ เปิดให้ประชาชนเข้าชม ได้โดยเก็บค่าบำรุง

*4. [[พระธาตุดอยตุง]] พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ประจำปีกุน
;4. [[พระธาตุดอยตุง]] พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ประจำปีกุน
พระบรมธาตุดอยตุง เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดของเชียงราย ประดิษฐานอยู่บนยอดดอยตุง ในเขตกิ่งอำเภอ แม่ฟ้า หลวง มีถนนแยกจากบ้านห้วยไคร้ขึ้นไปจนถึงองค์พระบรมธาตุองค์พระธาตุบรมธาตุเจดีย์ อยู่สูงจากระดับ น้ำทะเล ประมาณ 2000 เมตร ตามตำนานมีว่า เดิมสถานที่ตั้งพระบรมธาตุดอยตุง มีชื่อว่า ดอยดินแดง อยู่บน เขาสามเส้น ของพวกลาวจก ต่อมาสมัยพระเจ้าอุชุตะราช รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์สิงหนวัต ผู้ครองนครโยนก นาคนคร เมื่อปี พ.ศ. 1452 พระมหากัสสป ได้นำพระบรมสารีริกธาตุในส่วนของพระรากขวัญเบื้องซ้าย (ไหปลาร้า) ของพระพุทธเจ้ามาถวายซึ่งตรงตามคำทำนายของพระพุทธองค์ว่าที่ดอยดินแดงแห่งนี้ ต่อไปจะเป็นที่ประดิษฐาน พระมหาสถูปบรรจุ ุพระบรมสารีริกธาตุ ในภายภาคหน้าพระเจ้าอุชุตะราช มีพระราชศรัทธา ได้เรียกหัวหน้าลาวจก มาเฝ้าพระราชทานทองคำจำนวนแสนกษาปณ์ ให้เป็นค่าที่ดินบริเวณดอยดินแดงแก่พวกลาวจก แล้วทรงสร้าง พระสถูปขึ้น โดยนำธง ตะขาบยาว 3000 วา ไปปักไว้บนดอยมื่อหางธงปลิวไปไกลเพียงใด้ ให้กำหนดเป็นฐาน พระสถูปเพียงนั้นดอย ดินแดงจึงได้ชื่อใหม่ว่า ดอยตุง (คำว่า ตุง แปลว่า ธง) เมื่อสร้างพระสถูปเสร็จก็ได้นำ พระบรมสารีริกธาตุดังกล่าวบรรจุบรรจุไว้ให้คนสักการบูชา ต่อมาสมัยพระเจ้าเม็งรายมหาราช แห่งราชวงศ์ลาวจก พระมหาวชิระโพธิเถระได้นำพระบรมสารีริกธาตุมาถวาย จำนวนองค์ พระเจ้าเม็งรายจึงโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระ สถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุขึ้นอีกองค์หนึ่ง เหมือนกับพระสถูปองค์เดิมทุกประการ ตั้งคู่กัน ดังปรากฏอยู่จน ถึงทุกวันนี้ ชาวเชียงรายมีประเพณีการเดิน ขึ้นดอยบูชาพระธาตุ ซึ่งจัดเป็นประจำทุกปี
พระบรมธาตุดอยตุง เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดของเชียงราย ประดิษฐานอยู่บนยอดดอยตุง ในเขตกิ่งอำเภอ แม่ฟ้า หลวง มีถนนแยกจากบ้านห้วยไคร้ขึ้นไปจนถึงองค์พระบรมธาตุองค์พระธาตุบรมธาตุเจดีย์ อยู่สูงจากระดับ น้ำทะเล ประมาณ 2000 เมตร ตามตำนานมีว่า เดิมสถานที่ตั้งพระบรมธาตุดอยตุง มีชื่อว่า ดอยดินแดง อยู่บน เขาสามเส้น ของพวกลาวจก ต่อมาสมัยพระเจ้าอุชุตะราช รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์สิงหนวัต ผู้ครองนครโยนก นาคนคร เมื่อปี พ.ศ. 1452 พระมหากัสสป ได้นำพระบรมสารีริกธาตุในส่วนของพระรากขวัญเบื้องซ้าย (ไหปลาร้า) ของพระพุทธเจ้ามาถวายซึ่งตรงตามคำทำนายของพระพุทธองค์ว่าที่ดอยดินแดงแห่งนี้ ต่อไปจะเป็นที่ประดิษฐาน พระมหาสถูปบรรจุ ุพระบรมสารีริกธาตุ ในภายภาคหน้าพระเจ้าอุชุตะราช มีพระราชศรัทธา ได้เรียกหัวหน้าลาวจก มาเฝ้าพระราชทานทองคำจำนวนแสนกษาปณ์ ให้เป็นค่าที่ดินบริเวณดอยดินแดงแก่พวกลาวจก แล้วทรงสร้าง พระสถูปขึ้น โดยนำธง ตะขาบยาว 3000 วา ไปปักไว้บนดอยมื่อหางธงปลิวไปไกลเพียงใด้ ให้กำหนดเป็นฐาน พระสถูปเพียงนั้นดอย ดินแดงจึงได้ชื่อใหม่ว่า ดอยตุง (คำว่า ตุง แปลว่า ธง) เมื่อสร้างพระสถูปเสร็จก็ได้นำ พระบรมสารีริกธาตุดังกล่าวบรรจุบรรจุไว้ให้คนสักการบูชา ต่อมาสมัยพระเจ้าเม็งรายมหาราช แห่งราชวงศ์ลาวจก พระมหาวชิระโพธิเถระได้นำพระบรมสารีริกธาตุมาถวาย จำนวนองค์ พระเจ้าเม็งรายจึงโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระ สถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุขึ้นอีกองค์หนึ่ง เหมือนกับพระสถูปองค์เดิมทุกประการ ตั้งคู่กัน ดังปรากฏอยู่จน ถึงทุกวันนี้ ชาวเชียงรายมีประเพณีการเดิน ขึ้นดอยบูชาพระธาตุ ซึ่งจัดเป็นประจำทุกปี
สิ่งที่น่าสนใจ :

พระธาตุดอยตุง เป็นเจดีย์สีทองขนาดเล็กสององค์ สูงประมาณ 5 ม. บนฐานสี่เหลี่ยมย่อมุม มีซุ้มจระนำสี่ทิศ องค์ระฆังและปลียอดมีขนาดเล็ก พระธาตุดอยตุง อยู่บนดอยสูงแวดล้อมด้วยป่ารกครึ้ม เรียกว่า สวนเทพารักษ์ เชื่อกันว่า เป็นที่สถิตของเทพารักษ์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์
สิ่งที่น่าสนใจ : พระธาตุดอยตุง เป็นเจดีย์สีทองขนาดเล็กสององค์ สูงประมาณ 5 ม. บนฐานสี่เหลี่ยมย่อมุม มีซุ้มจระนำสี่ทิศ องค์ระฆังและปลียอดมีขนาดเล็ก พระธาตุดอยตุง อยู่บนดอยสูงแวดล้อมด้วยป่ารกครึ้ม เรียกว่า สวนเทพารักษ์ เชื่อกันว่า เป็นที่สถิตของเทพารักษ์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์
รอยปักตุง เป็นรอยแยกบนพื้น ยาวประมาณ 1 ฟุต อยู่ด้านหน้าพระธาตุ เชื่อกันว่า เป็นรอยแยกที่ใช้ปักฐานตุง บูชาพระธาตุ เมื่อ 1,000 ปีก่อน
รอยปักตุง เป็นรอยแยกบนพื้น ยาวประมาณ 1 ฟุต อยู่ด้านหน้าพระธาตุ เชื่อกันว่า เป็นรอยแยกที่ใช้ปักฐานตุง บูชาพระธาตุ เมื่อ 1,000 ปีก่อน


==การเข้าชมพระตำหนักดอยตุง==
== การเข้าชมพระตำหนักดอยตุง ==
*สามารถสอบถามรายละเอียดๆได้ที่ โทร.053-767-015-7 ,053-767-001 และ เว็บไซต์ http://www.doitung.org เวลาเปิดเข้าชม
* สามารถสอบถามรายละเอียดๆได้ที่ โทร.053-767-015-7 ,053-767-001 และ เว็บไซต์ http://www.doitung.org เวลาเปิดเข้าชม
*พระตำหนักดอยตุง(เปิด 07.00-17.30) สวนแม่ฟ้าหลวง(เปิด07.00-18.00 น.) หอแห่งแรงบันดาลใจ(เปิด08.00-17.00) สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง(เปิด06.30-18.00 น.)
* พระตำหนักดอยตุง (เปิด 07.00-17.30) สวนแม่ฟ้าหลวง (เปิด07.00-18.00 น.) หอแห่งแรงบันดาลใจ (เปิด08.00-17.00) สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง (เปิด06.30-18.00 น.)
*ค่าธรรมเนียมเข้าชมพระตำหนัก 90 บาท ชมสวนแม่ฟ้าหลวง 90 บาท หอแห่งแรงบันดาลใจ 90 บาท สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง(สวนกุหลาบพันปี) 90 บาท บัตรรวมเข้าชม ทั้งสี่ที่ 220 บาท
* ค่าธรรมเนียมเข้าชมพระตำหนัก 90 บาท ชมสวนแม่ฟ้าหลวง 90 บาท หอแห่งแรงบันดาลใจ 90 บาท สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง (สวนกุหลาบพันปี) 90 บาท บัตรรวมเข้าชม ทั้งสี่ที่ 220 บาท
*มีร้านอาหารของครัวตำหนัก(เปิด 07.00-20.00 น.) ครัวดอยตุง(เปิด07.00-14.00 น.) ของโครงการฯ ร้านกาแฟดอยตุง ร้านจำหน่ายของที่ระลึก กาดดอยตุง
* มีร้านอาหารของครัวตำหนัก (เปิด 07.00-20.00 น.) ครัวดอยตุง (เปิด07.00-14.00 น.) ของโครงการฯ ร้านกาแฟดอยตุง ร้านจำหน่ายของที่ระลึก กาดดอยตุง
(จำหน่ายของฝากจากชาวบ้านดอยตุง) และโรงแรมที่พักดอยตุงลอด์จ
(จำหน่ายของฝากจากชาวบ้านดอยตุง) และโรงแรมที่พักดอยตุงลอด์จ


==การเดินทางไปดอยตุง==
== การเดินทางไปดอยตุง ==
*1. รถยนต์ส่วนตัว
* 1. รถยนต์ส่วนตัว
ใช้ทางขึ้นดอยตุงสายใหม่ ผ่านบ้านไทยใหญ่ร่มไทร กม.2 ผ่านจุดชมวิว กม.12 จากนั้นเลี้ยวซ้ายระหว่างหลัก กม.12 และ 13 ไปอีก 2 กม. จะถึงพระตำหนัก ระยะทาง 15 กม. หรือใช้ทางขึ้นสายเก่า โดยขับเลยแยกบ้านสันกองราว 1 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 1149 ที่บ้านห้วยไคร้ ระหว่างหลัก กม.871-872 เป็นทางขึ้นดอยตุงสายเก่า เส้นทางสูงชันกว่าสายใหม่ แต่ระยะทางสั้นกว่าเล็กน้อย ถนนจะไปบรรจบกับทางขึ้นสายใหม่ใกล้ กม.
ใช้ทางขึ้นดอยตุงสายใหม่ ผ่านบ้านไทยใหญ่ร่มไทร กม.2 ผ่านจุดชมวิว กม.12 จากนั้นเลี้ยวซ้ายระหว่างหลัก กม.12 และ 13 ไปอีก 2 กม. จะถึงพระตำหนัก ระยะทาง 15 กม. หรือใช้ทางขึ้นสายเก่า โดยขับเลยแยกบ้านสันกองราว 1 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 1149 ที่บ้านห้วยไคร้ ระหว่างหลัก กม.871-872 เป็นทางขึ้นดอยตุงสายเก่า เส้นทางสูงชันกว่าสายใหม่ แต่ระยะทางสั้นกว่าเล็กน้อย ถนนจะไปบรรจบกับทางขึ้นสายใหม่ใกล้ กม.

==การเดินทางไปพระธาตุดอยตุง==
== การเดินทางไปพระธาตุดอยตุง ==
ใช้ทางขึ้นดอยตุงสายใหม่ เมื่อผ่นทางแยกซ้ายไปพระตำหนักดอยตุง ถึงหลัก กมขจก.14 จะมีทางแยกซ้ายถ้าขับ ตรงไปจะขึ้นตรงสู่พระธาตุดอยตุง ทางค่อนข้างแคบและชันมาก ระยะทาง 3 กม. ถ้าไปทางแยกซ้าย มือ จะเป็น ทางอ้อม ผ่านสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าดอยตุง ทางแยกไปดอยช้างมูบ อ.แม่สาย และวัดน้อยดอยตุง ตรงหลัก กม.23 ระยะทาง 10 กม. จากวัดน้อยดอยตุง ต้องขับขึ้นดอยไปตามทางชัน แคบและคดเคี้ยว อีก 1 กม. บริเวณนี้ เรียกว่าสวนเทพารักษ์ ต้องขับด้วยความระมัดระวังเพราะอาจมีรถสวนลงมาได้
ใช้ทางขึ้นดอยตุงสายใหม่ เมื่อผ่นทางแยกซ้ายไปพระตำหนักดอยตุง ถึงหลัก กมขจก.14 จะมีทางแยกซ้ายถ้าขับ ตรงไปจะขึ้นตรงสู่พระธาตุดอยตุง ทางค่อนข้างแคบและชันมาก ระยะทาง 3 กม. ถ้าไปทางแยกซ้าย มือ จะเป็น ทางอ้อม ผ่านสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าดอยตุง ทางแยกไปดอยช้างมูบ อ.แม่สาย และวัดน้อยดอยตุง ตรงหลัก กม.23 ระยะทาง 10 กม. จากวัดน้อยดอยตุง ต้องขับขึ้นดอยไปตามทางชัน แคบและคดเคี้ยว อีก 1 กม. บริเวณนี้ เรียกว่าสวนเทพารักษ์ ต้องขับด้วยความระมัดระวังเพราะอาจมีรถสวนลงมาได้
*2. รถโดยสารประจำทาง
* 2. รถโดยสารประจำทาง
จาก อ. เมืองเชียงรายนั่งรถสายเชียงราย-แม่สาย ไปลงที่บ้านห้วยไคร้ เพื่อต่อรถสองแถวสีม่วงขึ้นไปดอยตุงที่ สถานี ขนส่งท่องเที่ยวดอยตุง โทร.053-667-433 ค่าเช่าเหมา 750 บาท (ไปกลับ) นั่งได้ 12 คน หรือค่าโดยสาร คนละ 60 บาท ครบ 12 คน รถออก รถสองแถวจะพาไปยังพระธาตุดอยตุง ตลาดสินค้าพื้นเมืองชาวเขา หน้าศูนย์ วิจัยพืชไร่ ใกล้อ่างเก็บน้ำ และพระตำหนักดอยตุง ใช้เวลาเดินทางและพาเที่ยว 3 ชม. เข้าชมพระตำหนัก 70 บาท ชมสวนแม่ฟ้าหลวง 80 บาท หอพระราชประวัติ 30 บาท บัตรรวมเข้าชมทั้งสามที่ 150 บาท
จาก อ. เมืองเชียงรายนั่งรถสายเชียงราย-แม่สาย ไปลงที่บ้านห้วยไคร้ เพื่อต่อรถสองแถวสีม่วงขึ้นไปดอยตุงที่ สถานี ขนส่งท่องเที่ยวดอยตุง โทร.053-667-433 ค่าเช่าเหมา 750 บาท (ไปกลับ) นั่งได้ 12 คน หรือค่าโดยสาร คนละ 60 บาท ครบ 12 คน รถออก รถสองแถวจะพาไปยังพระธาตุดอยตุง ตลาดสินค้าพื้นเมืองชาวเขา หน้าศูนย์ วิจัยพืชไร่ ใกล้อ่างเก็บน้ำ และพระตำหนักดอยตุง ใช้เวลาเดินทางและพาเที่ยว 3 ชม. เข้าชมพระตำหนัก 70 บาท ชมสวนแม่ฟ้าหลวง 80 บาท หอพระราชประวัติ 30 บาท บัตรรวมเข้าชมทั้งสามที่ 150 บาท


==ภายในพระตำหนัก==
== ภายในพระตำหนัก ==
พระตำหนักแห่งนี้ ถือเป็นบ้านหลังแรกของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สร้างขึ้นโดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์โดยเน้นที่ความเรียบง่ายและการใช้ประโยชน์ ภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตำหนักยังได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดีและเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเที่ยวชม สถาปัตยกรรมของพระตำหนักเป็นการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบล้านนากับบ้านพื้นเมืองของสวิตเซอร์แลนด์ สร้างบนไหล่เนิน มองเห็นทิวทัศน์ได้ไกลสุดสายตา พระตำหนักมี สองชั้น และชั้นลอยชั้นบนแยกเป็นสี่ส่วน แต่เชื่อมต่อกันเป็นอาคารหลังเดียว ที่โดดเด่นสะดุดตา คือ กาแลและ ไม้แกะสลัก เป็นเชิงชายลายเมฆไหลที่อ่อนช้อยโดยรอบภายในตำหนักล้วนใช้ไม้สน และไม้ลังที่ใส่สินค้า เป็นเนื้อไม้สีอ่อนที่สวยงามจุดน่าสน ใจอีกจุดคือ เพดานดาว ภายในท้องพระโรง แกะสลักขึ้นจากไม้สนภูเขาเป็น กลุ่มดาวต่างๆ ล้อมรอบระบบสุริยะ ชมได้อย่างไม่รู้เบื่อ ส่วนบริเวณผนังเชิงบันได แกะสลักเป็นพยัญชนะไทย พร้อมภาพประกอบภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตำหนักยังได้รับการอนุรักษ์ ไว้เป็นอย่างดี และบางครั้งที่[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]มีพระราชกรณียกิจที่จังหวัดเชียงราย ก็จะเสด็จมาประทับ ณ พระตำหนักแห่งนี้
พระตำหนักแห่งนี้ ถือเป็นบ้านหลังแรกของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สร้างขึ้นโดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์โดยเน้นที่ความเรียบง่ายและการใช้ประโยชน์ ภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตำหนักยังได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดีและเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเที่ยวชม สถาปัตยกรรมของพระตำหนักเป็นการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบล้านนากับบ้านพื้นเมืองของสวิตเซอร์แลนด์ สร้างบนไหล่เนิน มองเห็นทิวทัศน์ได้ไกลสุดสายตา พระตำหนักมี สองชั้น และชั้นลอยชั้นบนแยกเป็นสี่ส่วน แต่เชื่อมต่อกันเป็นอาคารหลังเดียว ที่โดดเด่นสะดุดตา คือ กาแลและ ไม้แกะสลัก เป็นเชิงชายลายเมฆไหลที่อ่อนช้อยโดยรอบภายในตำหนักล้วนใช้ไม้สน และไม้ลังที่ใส่สินค้า เป็นเนื้อไม้สีอ่อนที่สวยงามจุดน่าสน ใจอีกจุดคือ เพดานดาว ภายในท้องพระโรง แกะสลักขึ้นจากไม้สนภูเขาเป็น กลุ่มดาวต่างๆ ล้อมรอบระบบสุริยะ ชมได้อย่างไม่รู้เบื่อ ส่วนบริเวณผนังเชิงบันได แกะสลักเป็นพยัญชนะไทย พร้อมภาพประกอบภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตำหนักยังได้รับการอนุรักษ์ ไว้เป็นอย่างดี และบางครั้งที่[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]มีพระราชกรณียกิจที่จังหวัดเชียงราย ก็จะเสด็จมาประทับ ณ พระตำหนักแห่งนี้

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* [http://www.tourthai.com/province/chiang_rai/t_doi_tung_phratamnak.php จังหวัดเชียงราย :: พระตำหนักดอยตุง]
* [http://www.tourthai.com/province/chiang_rai/t_doi_tung_phratamnak.php จังหวัดเชียงราย :: พระตำหนักดอยตุง]


== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* http://www.doitung.org/
* http://www.doitung.org/
{{commonscat|Doi Tung Royal Villa|พระตำหนักดอยตุง}}
{{commonscat|Doi Tung Royal Villa|พระตำหนักดอยตุง}}
*{{geolinks-bldg|20.288306|99.809806}}
* {{geolinks-bldg|20.288306|99.809806}}

{{วังในไทย}}
{{วังในไทย}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:48, 3 สิงหาคม 2563

พระตำหนักดอยตุง
อักษรล้านนาคำว่า "พระตำหนักดอยตุง"
พระตำหนักดอยตุง
แผนที่
ข้อมูลทั่วไป
ประเภทพระตำหนัก
สถาปัตยกรรมการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบล้านนากับบ้านพื้นเมืองของสวิตเซอร์แลนด์
เมืองอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
ประเทศประเทศไทย
เริ่มสร้างวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2530
ผู้สร้างสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

พระตำหนักดอยตุง ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 บ้านมูเซอลาบา ตำบลแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย บริเวณสันเขาของเทือกดอยนางนอน ระดับความสูงประมาณ 1,200 ม. เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาดอยตุง เป็นที่ที่น่าเที่ยว

ประวัติ

พระตำหนักดอยตุงเริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2530 เมื่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 88 พรรษา โดยก่อนหน้านั้นมีพระราชกระแสว่า หลังพระชนมายุ 90 พรรษา จะไม่เสด็จไปประทับที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานราชเลขานุการในพระองค์ จึงได้เลือกดอยตุง ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงาม ขณะเดียว กันสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เมื่อทอดพระเนตรพื้นที่ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2530 ก็ทรงพอพระราชหฤทัย และมีพระราชดำริจะสร้างบ้านที่ดอยตุงพร้อมกันนี้ ยังมีพระราชกระแสรับสั่งว่าจะ ปลูกป่าบนดอยสูงจึงกำเนิดเป็น โครงการพัฒนาดอยตุงขึ้น โครงการพัฒนาดอยตุงเริ่มดำเนินการโดยความร่วมมือจากหน่วยราชการทุกส่วน เช่น กรมป่าไม้ กรมชลประทาน หน่วยงานด้านปกครอง นอกจากทำการปลูกป่าฟื้นฟูสภาพพื้นที่แล้วยังมีการฝึกอาชีพ เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวเขาบนดอยตุง ซึ่งประกอบด้วยชาวเขาเผ่าอาข่าลาหู่ ไทยใหญ่ และจีนฮ่อ ขณะเดียว กันยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนไว้

สถานที่ภายในพระตำหนัก

1.หอพระราชประวัติ

หอพระราชประวัติ ซึ่งตั้งอยู่ด้านหน้าสุดของพระตำหนัก สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า ภายในแบ่งเป็นห้องต่างๆ แปดห้อง ดังนี้

  • ห้องแรก แผ่นดินไทยฟ้ามืด กล่าวถึงการเสด็จถวายพระเพลิงพระบรมศพ เมื่อวันที่ 10 มี.ค.2539
  • ห้องที่ 2 ฉันจะเดินทางด้วยเรือลำนี้ แสดงถึงปรัชญาในการดำเนินพระชนม์ชีพ ที่ประกอบด้วยหลักเหตุผล และการสร้างสรรค์ทางศิลปะ
  • ห้องที่ 3 ภูมิธรรม ประมวลความสนพระทัยในหลักธรรมคำสั่งสอน
  • ห้องที่ 4 หนึ่งศตวรรษ เป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จย่า และเฉลิมฉลองในวาระ 100 ปีแห่งการพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ. 2443 ทั้งนี้ ทรงพระปรีชาชาญ ในการอภิบาลพระธิดา และพระโอรสที่ต่อมาได้เถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็น พระมหากษัตริย์ทั้งสองพระองค์ รวมทั้งทรงนำความรู้ใหม่ๆ มาใช้ในงานบำบัดทุกข์บำรุงสุขของพสกนิกร จนองค์การยูเนสโก ได้ประกาศพระนามในปฏิทินบุคคลสำคัญของโลก
  • ห้องที่ 5 เวลาเป็นของมีค่า กล่าวถึงงานฝีมือต่างๆ ของพระองค์ที่ใช้พระราชทานแก่บุคคลต่างๆ
  • ห้องที่ 6 พระมารดาแห่งการแพทย์ชนบทและการสาธารณสุขไทย
  • ห้องที่ 7 พระผู้อภิบาล บรรยายถึงความเป็นพระผู้อภิบาลธรรมชาติ
  • ห้องที่ 8 ดอยตุงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน กล่าวถึงโครงการพัฒนาดอยตุงที่เป็นโครงการพัฒนาระยะยาว เน้นการ อนุรักษ์ธรรมชาติและคุณภาพชีวิตของประชาชน
2.สวนแม่ฟ้าหลวง
สวนแม่ฟ้าหลวง

เป็นสวนดอกไม้เมืองหนาว ในหุบเขา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 เดิมมีพื้นที่ 12 ไร่ มีการปลูกดอกไม้หมุนเวียนสลับ ให้ออกดอกไม่ซ้ำกันตลอดสามฤดู ล้อมรอบประติมากรรมชื่อ "ความต่อเนื่อง" เป็นรูปเด็กยืนต่อตัวที่กลางสวน นอกจากนี้ ยังจัดแต่งสวนหินซึ่งประดับด้วยหินภูเขากลมเกลี้ยงขนาดใหญ่ สวนน้ำอุดมด้วยไม้น้ำพันธุ์ต่างๆ บัว และสวนปาล์มที่รวบ รวมปาล์มไว้มากมายในพื้นที่ 13 ไร่ สวนแม่ฟ้าหลวงจึงมีพื้นที่ทั้งสิ้น 25 ไร่

3. อาคารพระตำหนักดอยตุง

โดยลักษณะการก่อสร้าง เป็นการผสมผสานระหว่าง สถาปัตยกรรมล้านนา บ้านปีกไม้ และบ้านแบบพื้นเมือง ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มี ๒ ชั้น และชั้นลอยที่ประทับ ชั้นบนแยกเป็น ๔ ส่วน ทว่าเชื่อมเป็นอาคารหลังเดียวกัน เสมอกับลานกว้าง ของยอดเนินเขาภายในประกอบด้วย ชั้นบนที่แยกออกเป็น ๔ ส่วนนั้น ได้แก่ ที่ประทับของ สมเด็จพระศรีนคริทราบรมราชชนนี ซึ่งประกอบด้วยห้องพระโรง และห้องเตรียมพระกระยาหาร นอกจากนี้ เป็นห้อง ท่านผู้หญิงทัศนาวลัยฯ และที่ประทับของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ชั้นล่าง ซึ่งสร้างให้เกาะไปตามไหล่เขา ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่อยู่ของข้าราชบริพาร ด้านนอกพระตำหนัก มีเชิงชายไม้แกะสลัก เป็นลายพื้นเมือง เรียกว่า “ ลายเมฆไหล ” เหนือหลังคามี กาแลลงรักปิดทอง ๑๔ คู่ แยกเป็นลาย พรรณพฤกษาแบบล้านนา ๒ คู่ อีก ๑๒ คู่ เป็นลวดลายพฤกษา สลับกับสัตว์ทั้ง ๑๒ ราศี อันเป็นตัวแทน ของแต่ละปีในรอบนักษัตร นอกจากนี้ ที่บานพระทวารเข้าพระตำหนัก มีลวดลายรูป พระอาทิตย์ฉายแสง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ ของพลังอันแก่กล้า เหนือบานประตูเป็น ภาพต้นไม้ทิพย์ และหมู่วิหค ทางมุมซ้ายเป็นรูปนกเค้าแมว คอยดูแลสอดส่อง มิให้สิ่งชั่วร้ายเล็ดลอด เข้าไปในพระตำหนักได้ ที่กรอบทวารมีข้อความว่า “ สรีสวัสสดี พุทธศักราช ๒๕๓๑ ” อนึ่ง บนหลังคาพระตำหนัก มีท่อน้ำฝนทำ จากเครื่องปั้นดินเผาชนิด ไม่เคลือบ รูปหัวเหรา ปลา กบ สลับกับพญานาค ภายในพระตำหนัก ใช้ไม้สนภูเขาบุผนัง พื้นเป็นไม้สักทอง ซึ่งองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ น้อมเกลาฯ ถวาย สำหรับผนัง ในท้องพระโรง ประดับด้วย ภาพวาดสีน้ำมันขนาดใหญ่ ๓ ภาพ ภาพแรกชื่อ “ ตำนานดอยตุง ” ศิลปินคือ นายปัณยา ไชยะคำ สองภาพหลังชื่อ “ ยามตะวันชิงพลบ ” และ “ ดอยตุงยามราตรีสงัด ” ฝีมือของนาย บรรณรักษ์ นาคบรรลังค์ ส่วนของเพดานท้องพระโรง ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมาคมดาราศาสตร์ แห่งประเทศไทย ออกแบบแกะสลัก เป็นสุริยจักรวาล ประกอบด้วย กลุ่มดาวในระบบสุริยะเรียงราย กันไปตามองศา ของวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ อันเป็นวันพระราชสมภพ รวมทั้งรูปดาวนพเคราะห์ กลุ่มต่างๆ ซึ่งทรงเลือกมารวบรวมไว้ ด้วยพระองค์เอง ฝาผนังท้องพระโรงด้านหนึ่ง บุด้วยผ้าปักรูปดอกไม้นานาพันธุ์ บนผ้าไหม ซึ่งชาวบ้านอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ น้อมเกล้าฯ ถวาย ส่วนอีกด้านหนึ่ง แขวนผ้าปักครอสติสรูปดอกไม้ จากฝีพระหัตถ์ของพระองค์ บริเวณด้านหน้าของพระตำหนัก ยังมีสวนดอกไม้ประดับนานาพันธุ์ เรียกว่า “ สวนแม่ฟ้าหลวง ” มีเนื้อที่ประมาณ ๑๐ ไร่ ออกแบบรูปทรง เป็นลายผ้าพื้นเมืองเหนือด้วยการปลูกไม้ดอกเมืองหนาว หลากหลายพันธุ์ เปิดให้ประชาชนเข้าชม ได้โดยเก็บค่าบำรุง

4. พระธาตุดอยตุง พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ประจำปีกุน

พระบรมธาตุดอยตุง เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดของเชียงราย ประดิษฐานอยู่บนยอดดอยตุง ในเขตกิ่งอำเภอ แม่ฟ้า หลวง มีถนนแยกจากบ้านห้วยไคร้ขึ้นไปจนถึงองค์พระบรมธาตุองค์พระธาตุบรมธาตุเจดีย์ อยู่สูงจากระดับ น้ำทะเล ประมาณ 2000 เมตร ตามตำนานมีว่า เดิมสถานที่ตั้งพระบรมธาตุดอยตุง มีชื่อว่า ดอยดินแดง อยู่บน เขาสามเส้น ของพวกลาวจก ต่อมาสมัยพระเจ้าอุชุตะราช รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์สิงหนวัต ผู้ครองนครโยนก นาคนคร เมื่อปี พ.ศ. 1452 พระมหากัสสป ได้นำพระบรมสารีริกธาตุในส่วนของพระรากขวัญเบื้องซ้าย (ไหปลาร้า) ของพระพุทธเจ้ามาถวายซึ่งตรงตามคำทำนายของพระพุทธองค์ว่าที่ดอยดินแดงแห่งนี้ ต่อไปจะเป็นที่ประดิษฐาน พระมหาสถูปบรรจุ ุพระบรมสารีริกธาตุ ในภายภาคหน้าพระเจ้าอุชุตะราช มีพระราชศรัทธา ได้เรียกหัวหน้าลาวจก มาเฝ้าพระราชทานทองคำจำนวนแสนกษาปณ์ ให้เป็นค่าที่ดินบริเวณดอยดินแดงแก่พวกลาวจก แล้วทรงสร้าง พระสถูปขึ้น โดยนำธง ตะขาบยาว 3000 วา ไปปักไว้บนดอยมื่อหางธงปลิวไปไกลเพียงใด้ ให้กำหนดเป็นฐาน พระสถูปเพียงนั้นดอย ดินแดงจึงได้ชื่อใหม่ว่า ดอยตุง (คำว่า ตุง แปลว่า ธง) เมื่อสร้างพระสถูปเสร็จก็ได้นำ พระบรมสารีริกธาตุดังกล่าวบรรจุบรรจุไว้ให้คนสักการบูชา ต่อมาสมัยพระเจ้าเม็งรายมหาราช แห่งราชวงศ์ลาวจก พระมหาวชิระโพธิเถระได้นำพระบรมสารีริกธาตุมาถวาย จำนวนองค์ พระเจ้าเม็งรายจึงโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระ สถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุขึ้นอีกองค์หนึ่ง เหมือนกับพระสถูปองค์เดิมทุกประการ ตั้งคู่กัน ดังปรากฏอยู่จน ถึงทุกวันนี้ ชาวเชียงรายมีประเพณีการเดิน ขึ้นดอยบูชาพระธาตุ ซึ่งจัดเป็นประจำทุกปี

สิ่งที่น่าสนใจ : พระธาตุดอยตุง เป็นเจดีย์สีทองขนาดเล็กสององค์ สูงประมาณ 5 ม. บนฐานสี่เหลี่ยมย่อมุม มีซุ้มจระนำสี่ทิศ องค์ระฆังและปลียอดมีขนาดเล็ก พระธาตุดอยตุง อยู่บนดอยสูงแวดล้อมด้วยป่ารกครึ้ม เรียกว่า สวนเทพารักษ์ เชื่อกันว่า เป็นที่สถิตของเทพารักษ์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รอยปักตุง เป็นรอยแยกบนพื้น ยาวประมาณ 1 ฟุต อยู่ด้านหน้าพระธาตุ เชื่อกันว่า เป็นรอยแยกที่ใช้ปักฐานตุง บูชาพระธาตุ เมื่อ 1,000 ปีก่อน

การเข้าชมพระตำหนักดอยตุง

  • สามารถสอบถามรายละเอียดๆได้ที่ โทร.053-767-015-7 ,053-767-001 และ เว็บไซต์ http://www.doitung.org เวลาเปิดเข้าชม
  • พระตำหนักดอยตุง (เปิด 07.00-17.30) สวนแม่ฟ้าหลวง (เปิด07.00-18.00 น.) หอแห่งแรงบันดาลใจ (เปิด08.00-17.00) สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง (เปิด06.30-18.00 น.)
  • ค่าธรรมเนียมเข้าชมพระตำหนัก 90 บาท ชมสวนแม่ฟ้าหลวง 90 บาท หอแห่งแรงบันดาลใจ 90 บาท สวนรุกขชาติแม่ฟ้าหลวง (สวนกุหลาบพันปี) 90 บาท บัตรรวมเข้าชม ทั้งสี่ที่ 220 บาท
  • มีร้านอาหารของครัวตำหนัก (เปิด 07.00-20.00 น.) ครัวดอยตุง (เปิด07.00-14.00 น.) ของโครงการฯ ร้านกาแฟดอยตุง ร้านจำหน่ายของที่ระลึก กาดดอยตุง

(จำหน่ายของฝากจากชาวบ้านดอยตุง) และโรงแรมที่พักดอยตุงลอด์จ

การเดินทางไปดอยตุง

  • 1. รถยนต์ส่วนตัว

ใช้ทางขึ้นดอยตุงสายใหม่ ผ่านบ้านไทยใหญ่ร่มไทร กม.2 ผ่านจุดชมวิว กม.12 จากนั้นเลี้ยวซ้ายระหว่างหลัก กม.12 และ 13 ไปอีก 2 กม. จะถึงพระตำหนัก ระยะทาง 15 กม. หรือใช้ทางขึ้นสายเก่า โดยขับเลยแยกบ้านสันกองราว 1 กม. เลี้ยวซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 1149 ที่บ้านห้วยไคร้ ระหว่างหลัก กม.871-872 เป็นทางขึ้นดอยตุงสายเก่า เส้นทางสูงชันกว่าสายใหม่ แต่ระยะทางสั้นกว่าเล็กน้อย ถนนจะไปบรรจบกับทางขึ้นสายใหม่ใกล้ กม.

การเดินทางไปพระธาตุดอยตุง

ใช้ทางขึ้นดอยตุงสายใหม่ เมื่อผ่นทางแยกซ้ายไปพระตำหนักดอยตุง ถึงหลัก กมขจก.14 จะมีทางแยกซ้ายถ้าขับ ตรงไปจะขึ้นตรงสู่พระธาตุดอยตุง ทางค่อนข้างแคบและชันมาก ระยะทาง 3 กม. ถ้าไปทางแยกซ้าย มือ จะเป็น ทางอ้อม ผ่านสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าดอยตุง ทางแยกไปดอยช้างมูบ อ.แม่สาย และวัดน้อยดอยตุง ตรงหลัก กม.23 ระยะทาง 10 กม. จากวัดน้อยดอยตุง ต้องขับขึ้นดอยไปตามทางชัน แคบและคดเคี้ยว อีก 1 กม. บริเวณนี้ เรียกว่าสวนเทพารักษ์ ต้องขับด้วยความระมัดระวังเพราะอาจมีรถสวนลงมาได้

  • 2. รถโดยสารประจำทาง

จาก อ. เมืองเชียงรายนั่งรถสายเชียงราย-แม่สาย ไปลงที่บ้านห้วยไคร้ เพื่อต่อรถสองแถวสีม่วงขึ้นไปดอยตุงที่ สถานี ขนส่งท่องเที่ยวดอยตุง โทร.053-667-433 ค่าเช่าเหมา 750 บาท (ไปกลับ) นั่งได้ 12 คน หรือค่าโดยสาร คนละ 60 บาท ครบ 12 คน รถออก รถสองแถวจะพาไปยังพระธาตุดอยตุง ตลาดสินค้าพื้นเมืองชาวเขา หน้าศูนย์ วิจัยพืชไร่ ใกล้อ่างเก็บน้ำ และพระตำหนักดอยตุง ใช้เวลาเดินทางและพาเที่ยว 3 ชม. เข้าชมพระตำหนัก 70 บาท ชมสวนแม่ฟ้าหลวง 80 บาท หอพระราชประวัติ 30 บาท บัตรรวมเข้าชมทั้งสามที่ 150 บาท

ภายในพระตำหนัก

พระตำหนักแห่งนี้ ถือเป็นบ้านหลังแรกของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สร้างขึ้นโดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์โดยเน้นที่ความเรียบง่ายและการใช้ประโยชน์ ภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตำหนักยังได้รับการอนุรักษ์ไว้เป็นอย่างดีและเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าเที่ยวชม สถาปัตยกรรมของพระตำหนักเป็นการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมแบบล้านนากับบ้านพื้นเมืองของสวิตเซอร์แลนด์ สร้างบนไหล่เนิน มองเห็นทิวทัศน์ได้ไกลสุดสายตา พระตำหนักมี สองชั้น และชั้นลอยชั้นบนแยกเป็นสี่ส่วน แต่เชื่อมต่อกันเป็นอาคารหลังเดียว ที่โดดเด่นสะดุดตา คือ กาแลและ ไม้แกะสลัก เป็นเชิงชายลายเมฆไหลที่อ่อนช้อยโดยรอบภายในตำหนักล้วนใช้ไม้สน และไม้ลังที่ใส่สินค้า เป็นเนื้อไม้สีอ่อนที่สวยงามจุดน่าสน ใจอีกจุดคือ เพดานดาว ภายในท้องพระโรง แกะสลักขึ้นจากไม้สนภูเขาเป็น กลุ่มดาวต่างๆ ล้อมรอบระบบสุริยะ ชมได้อย่างไม่รู้เบื่อ ส่วนบริเวณผนังเชิงบันได แกะสลักเป็นพยัญชนะไทย พร้อมภาพประกอบภายหลังการสวรรคตของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระตำหนักยังได้รับการอนุรักษ์ ไว้เป็นอย่างดี และบางครั้งที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมีพระราชกรณียกิจที่จังหวัดเชียงราย ก็จะเสด็จมาประทับ ณ พระตำหนักแห่งนี้

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

20°17′18″N 99°48′35″E / 20.288306°N 99.809806°E / 20.288306; 99.809806