ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอวังหิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sorawitlive (คุย | ส่วนร่วม)
Sorawitlive (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
อำเภอวังหิน จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ [[9 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2530]] ประกอบด้วยตำบลบุสูง ตำบลดวนใหญ่ ตำบลบ่อแก้ว ตำบลศรีสำราญ และตำบลธาตุ และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอในปี [[พ.ศ. 2536]]
อำเภอวังหิน จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ [[9 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2530]] ประกอบด้วยตำบลบุสูง ตำบลดวนใหญ่ ตำบลบ่อแก้ว ตำบลศรีสำราญ และตำบลธาตุ และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอในปี [[พ.ศ. 2536]]


เดิมบริเวณพื้นที่อำเภอวังหิน พบว่ามีร่องรอยของอารยธรรมและการก่อตั้งชุมชนมาตั้งแต่สมัยยุคทวารวดี โดยมีการสร้างเมืองที่มีคูเมืองล้อมรอบตามแบบอย่างของเมืองยุคทวารวดี ครั้นถึงยุคกรุงศรีอยุธยา สัณนิษฐานว่าบริเวณพื้นที่ดังกล่าวเคยเป็นที่ตั้งของเมืองศรีนครลำดวน ชุมชนเขมรป่าดง ในปี พ.ศ. ๒๓๐๓  สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์แห่งกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน (บ้านดวนใหญ่)  ขึ้นเป็นเมืองชื่อ   “เมืองศรีนครลำดวน”  และแต่งตั้งให้หลวงแก้วสุวรรณ (ตากะจะเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์และราชทินนามที่  “พระยาไกรภักดี     ศรีนครลำดวน” ต่อมาในปี  พ.ศ.  ๒๓๒๑  พระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดเกล้าฯ  ให้เลื่อนบรรดาศักดิ์พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน  เป็นที่  “พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน”  และในปีนี้เองพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(ตากะจะ) ได้ถึงแก่อนิจกรรม พระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้หลวงปราบ (เชียงขัน)  เป็นเจ้าเมืองคนต่อมาในบรรดาศักดิ์และราชทินนามที่“พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน”   และมีพระบรมราชานุญาต   ให้พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(เชียงขัน)ย้ายเมืองไปตั้งอยู่ที่บ้านแตระ    (ริมฝั่งห้วยเหนือ)   ซึ่งมีทำเล    และชัยภูมิดีกว่าที่เดิม  ทั้งนี้เพราะมีลำห้วยเป็นคูน้ำธรรมชาติล้อมรอบ  และได้พระราชทานนามเมืองใหม่นี้ว่า     “เมืองคูขันธ์หรือเมืองขุขันธ์ ”  นอกจากนี้ยังได้พระราชทานนาม เจ้าเมืองใหม่ว่า  “พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน”  เมืองศรีนครลำดวนจึงกลายเป็นเพียงหมู่บ้าน  ตำบล  ต่อมาจนกระทั่งตั้งเป็นอำเภอไม่ได้เอาชื่อเดิมมาตั้งเป็นชื่ออำเภอคงตั้งชื่อตามวังน้ำว่า  “วังหิน”    เดิมอำเภอวังหินนั้น  ขึ้นอยู่กับการปกครองอำเภอเมืองศรีสะเกษ  ต่อมาได้รับการจัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอ   วังหิน  ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย  เมื่อวันที่  ๙  มีนาคม  ๒๕๓๐  โดยอำเภอวังหินแยกการปกครอง    จากอำเภอเมืองศรีสะเกษ  โดยตั้งชื่อตามห้วงน้ำใกล้ที่ตั้งกิ่งอำเภอ  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของห้วยคล้าเรียกว่า        “วังหิน” 
เดิมบริเวณพื้นที่อำเภอวังหิน พบว่ามีร่องรอยของอารยธรรมและการก่อตั้งชุมชนมาตั้งแต่สมัยยุคทวารวดี โดยมีการสร้างเมืองที่มีคูเมืองล้อมรอบตามแบบอย่างของเมืองยุคทวารวดี ครั้นถึงยุคกรุงศรีอยุธยา สัณนิษฐานว่าบริเวณพื้นที่ดังกล่าวเคยเป็นที่ตั้งของเมืองศรีนครลำดวน ชุมชนเขมรป่าดง
ในปี พ.ศ. 2303  สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์แห่งกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน (บ้านดวนใหญ่)  ขึ้นเป็นเมืองชื่อ   “เมืองศรีนครลำดวน”  และแต่งตั้งตากะจะหัวหน้าชุมชนเขมรป่าดงเป็นเจ้าเมืองให้มีบรรดาศักดิ์ที่หลวงแก้วสุวรรณ และแต่งตั้งเชียงขันผู้น้องเป็นหลวงปราบ ลุถึงสมัยกรุงธนบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2319–2321 [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] (พระเจ้าตากสิน) โปรดเกล้าฯ มีรับสั่งให้[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|พระยาจักรี]] (ทองด้วง) ไปทำศึกปราบกบฏกับเวียงจันทน์ พระไกรภักดีศรีนครลำดวน (ตากะจะ) และหลวงปราบ ได้เกณฑ์กำลังไปช่วยรบอย่างเข้มแข็งจนได้รับชัยชนะทุกครั้ง ถือว่ามีความดีความชอบจึงได้โปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น “'''พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน'''<sup>[[จังหวัดศรีสะเกษ#cite%20note-19|[]]</sup>และในปีนี้เองพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(ตากะจะ) ได้ถึงแก่อนิจกรรม พระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้หลวงปราบ (เชียงขัน)  เป็นเจ้าเมืองคนต่อมาในบรรดาศักดิ์และราชทินนามที่“พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน”   และมีพระบรมราชานุญาตให้พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(เชียงขัน) ย้ายเมืองไปตั้งอยู่ที่บ้านแตระ    (ริมฝั่งห้วยเหนือ)   ซึ่งมีทำเลและชัยภูมิดีกว่าที่เดิม  ทั้งนี้เพราะมีลำห้วยเป็นคูน้ำธรรมชาติล้อมรอบ  และได้พระราชทานนามเมืองใหม่นี้ว่า     “เมืองคูขันธ์หรือเมืองขุขันธ์ ”  นอกจากนี้ยังได้พระราชทานนาม เจ้าเมืองใหม่ว่า  “พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน”  เมืองศรีนครลำดวนจึงกลายเป็นเพียงหมู่บ้าน  ตำบล  ต่อมาจนกระทั่งตั้งเป็นอำเภอไม่ได้เอาชื่อเดิมมาตั้งเป็นชื่ออำเภอคงตั้งชื่อตามวังน้ำว่า  “วังหิน”    เดิมอำเภอวังหินนั้น  ขึ้นอยู่กับการปกครองอำเภอเมืองศรีสะเกษ  ต่อมาได้รับการจัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอ   วังหิน  ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย  เมื่อวันที่  ๙  มีนาคม  ๒๕๓๐  โดยอำเภอวังหินแยกการปกครอง    จากอำเภอเมืองศรีสะเกษ  โดยตั้งชื่อตามห้วงน้ำใกล้ที่ตั้งกิ่งอำเภอ  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของห้วยคล้าเรียกว่า “วังหิน” 


== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:51, 23 มิถุนายน 2562

อำเภอวังหิน
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Wang Hin
คำขวัญ: 
วังหินถิ่นธรรมชาติ ประวัติศาตร์เมืองเก่า
ศรีนครลำดวน มากล้วนหอมแดง
รวมแหล่งอารยธรรม
วีรกรรมตากะจะบ้านดวนใหญ่
ผ้าใหมมัดหมี่ คนดีวังหิน
แผนที่จังหวัดศรีสะเกษ เน้นอำเภอวังหิน
แผนที่จังหวัดศรีสะเกษ เน้นอำเภอวังหิน
พิกัด: 14°56′54″N 104°13′48″E / 14.94833°N 104.23000°E / 14.94833; 104.23000
ประเทศ ไทย
จังหวัดศรีสะเกษ
พื้นที่
 • ทั้งหมด237.619 ตร.กม. (91.745 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)
 • ทั้งหมด50,198 คน
 • ความหนาแน่น211.25 คน/ตร.กม. (547.1 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 33270
รหัสภูมิศาสตร์3316
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอวังหิน หมู่ที่ 19 ตำบลบุสูง อำเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ 33270
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

วังหิน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของจังหวัด ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นอำเภอที่มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 220 ซึ่งเป็นถนนสายสำคัญของจังหวัดศรีสะเกษผ่าน

ประวัติ

อำเภอวังหิน จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2530 ประกอบด้วยตำบลบุสูง ตำบลดวนใหญ่ ตำบลบ่อแก้ว ตำบลศรีสำราญ และตำบลธาตุ และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2536

เดิมบริเวณพื้นที่อำเภอวังหิน พบว่ามีร่องรอยของอารยธรรมและการก่อตั้งชุมชนมาตั้งแต่สมัยยุคทวารวดี โดยมีการสร้างเมืองที่มีคูเมืองล้อมรอบตามแบบอย่างของเมืองยุคทวารวดี ครั้นถึงยุคกรุงศรีอยุธยา สัณนิษฐานว่าบริเวณพื้นที่ดังกล่าวเคยเป็นที่ตั้งของเมืองศรีนครลำดวน ชุมชนเขมรป่าดง

ในปี พ.ศ. 2303  สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์แห่งกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน (บ้านดวนใหญ่)  ขึ้นเป็นเมืองชื่อ   “เมืองศรีนครลำดวน”  และแต่งตั้งตากะจะหัวหน้าชุมชนเขมรป่าดงเป็นเจ้าเมืองให้มีบรรดาศักดิ์ที่หลวงแก้วสุวรรณ และแต่งตั้งเชียงขันผู้น้องเป็นหลวงปราบ ลุถึงสมัยกรุงธนบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2319–2321 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี (พระเจ้าตากสิน) โปรดเกล้าฯ มีรับสั่งให้พระยาจักรี (ทองด้วง) ไปทำศึกปราบกบฏกับเวียงจันทน์ พระไกรภักดีศรีนครลำดวน (ตากะจะ) และหลวงปราบ ได้เกณฑ์กำลังไปช่วยรบอย่างเข้มแข็งจนได้รับชัยชนะทุกครั้ง ถือว่ามีความดีความชอบจึงได้โปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน[และในปีนี้เองพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(ตากะจะ) ได้ถึงแก่อนิจกรรม พระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้หลวงปราบ (เชียงขัน)  เป็นเจ้าเมืองคนต่อมาในบรรดาศักดิ์และราชทินนามที่“พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน”   และมีพระบรมราชานุญาตให้พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(เชียงขัน) ย้ายเมืองไปตั้งอยู่ที่บ้านแตระ    (ริมฝั่งห้วยเหนือ)   ซึ่งมีทำเลและชัยภูมิดีกว่าที่เดิม  ทั้งนี้เพราะมีลำห้วยเป็นคูน้ำธรรมชาติล้อมรอบ  และได้พระราชทานนามเมืองใหม่นี้ว่า     “เมืองคูขันธ์หรือเมืองขุขันธ์ ”  นอกจากนี้ยังได้พระราชทานนาม เจ้าเมืองใหม่ว่า  “พระยาขุขันธ์ภักดีศรีนครลำดวน”  เมืองศรีนครลำดวนจึงกลายเป็นเพียงหมู่บ้าน  ตำบล  ต่อมาจนกระทั่งตั้งเป็นอำเภอไม่ได้เอาชื่อเดิมมาตั้งเป็นชื่ออำเภอคงตั้งชื่อตามวังน้ำว่า  “วังหิน”    เดิมอำเภอวังหินนั้น  ขึ้นอยู่กับการปกครองอำเภอเมืองศรีสะเกษ  ต่อมาได้รับการจัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอ   วังหิน  ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย  เมื่อวันที่  ๙  มีนาคม  ๒๕๓๐  โดยอำเภอวังหินแยกการปกครอง    จากอำเภอเมืองศรีสะเกษ  โดยตั้งชื่อตามห้วงน้ำใกล้ที่ตั้งกิ่งอำเภอ  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของห้วยคล้าเรียกว่า “วังหิน” 

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอวังหินตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอวังหินแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 8 ตำบล 126 หมู่บ้าน ได้แก่

1. บุสูง (Bu Sung) 22 หมู่บ้าน 5. ศรีสำราญ (Si Samran) 13 หมู่บ้าน
2. ธาตุ (That) 16 หมู่บ้าน 6. ทุ่งสว่าง (Thung Sawang) 15 หมู่บ้าน
3. ดวนใหญ่ (Duan Yai) 18 หมู่บ้าน 7. วังหิน (Wang Hin) 11 หมู่บ้าน
4. บ่อแก้ว (Bo Kaeo) 19 หมู่บ้าน 8. โพนยาง (Phon Yang) 12 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอวังหินประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลบุสูง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบุสูงทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลวังหิน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังหินทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลธาตุ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลธาตุทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลดวนใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลดวนใหญ่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อแก้ว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ่อแก้วทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลศรีสำราญ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศรีสำราญทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งสว่าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทุ่งสว่างทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลโพนยาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพนยางทั้งตำบล