ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอห์น มอร์ริสัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 75: บรรทัด 75:


* '''World Wrestling Entertainment'''
* '''World Wrestling Entertainment'''
** ECW World Championship (1 สมัย)
** ECW World Championship (3 สมัย)
** World Tag Team Championship (1 สมัย) – คู่กับ [[เดอะ มิซ]]
** World Tag Team Championship (1 สมัย) – คู่กับ [[เดอะ มิซ]]
** WWE Intercontinental Championship (3 สมัย)
** WWE Intercontinental Championship (5 สมัย)
** WWE Tag Team Championship (4 สมัย) – คู่กับ โจอี เมอร์คิวรี (3) และ เดอะ มิซ (1)
** WWE Tag Team Championship (4 สมัย) – คู่กับ โจอี เมอร์คิวรี (3) และ เดอะ มิซ (1)
** [[สแลมมีอวอร์ด]] for Tag Team of the Year (2008) – คู่กับ เดอะ มิซ
** [[สแลมมีอวอร์ด]] for Tag Team of the Year (2008) – คู่กับ เดอะ มิซ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:55, 15 พฤษภาคม 2555

จอห์น มอร์ริสัน
เกิด (1979-10-03) 3 ตุลาคม ค.ศ. 1979 (44 ปี)
ลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย
ที่พักลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย
ประวัติมวยปล้ำอาชีพ
ชื่อบนสังเวียนจอห์น เฮนนิแกน
จอห์น มอร์ริสัน
จอห์นนี เบลซ
จอห์นนี ไนโตร
จอห์นนี ออนิกซ์
จอห์นนี สเปดส์
จอห์นนี ซูเปอร์สตาร์[1]
ส่วนสูง6 ft 0 in (1.83 m)
น้ำหนัก215 lb (98 กก)
มาจากลอสแอนเจลิส, แคลิฟอร์เนีย
ฝึกหัดโดยSPW staff
Tough Enough III trainers
OVW staff
เปิดตัว27 มกราคม ค.ศ. 2003

จอห์น เฮนนิแกน มีชื่อจริงว่า จอห์น แรนแดล เฮนนิแกน[2] เกิดวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1979[3] เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ในนามสังเวียนมวยปล้ำมีชื่อว่า จอห์น มอร์ริสัน และ จอห์นนี ไนโตร สังกัดสมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ปัจจุบันได้ลาออกแล้ว

ประวัติในสังเวียนมวยปล้ำ

เฮนนิแกนได้เข้าประกวดรายการ ทาจห์ อีนาจห์ ซีซั่น 3 โดยถ้าผู้เข้าแข่งขันคนไหนเป็นผู้ชนะก็จะได้เซ็นสัญญากับ WWE แล้วเขาก็ได้เป็นผู้ชนะ[4] และได้ไปปล้ำในสมาคม OVW ซึ่งเป็นค่ายพัฒนาทักษะมวยปล้ำแล้วเขาก็ได้แชมป์แทคทีม OVW คู่กับ โจอี เมอร์คิวรี และมีผู้จัดการส่วนตัวคือ เมลิน่า ในนามกลุ่ม MNM ในปี 2005 เขาได้เซ็นสัญญากับ WWE ใช้ชื่อว่า จอห์นนี ไนโตร ปรากฏตัวใน สแมคดาวน์ ในนามกลุ่ม MNM โดยมี โจอี เมอร์คิวรี เป็นคู่แทคทีม และ เมลิน่า เป็นผู้จัดการทีมส่วนตัวในบทฝ่ายอธรรมไม่นานเขาก็สามารถคว้า แชมป์แทคทีม WWE มาได้ โดยเอาชนะ เอ็ดดี เกอร์เรโร และ เรย์ มิสเตริโอ[5] และครองแชมป์มาได้ถึง 3 สมัย ในเดือนพฤษภาคม ปี 2006 โจอี เมอร์คิวรี ได้ถูกพักงาน[6] เขาและเมลิน่า ก็ย้ายไป รอว์ เขาก็ยังโชว์ฟอร์มได้ดีในฐานะศิลปินเดี่ยวโดยการคว้า แชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล มาได้ 2 สมัย ในเดือนมิถุนายน ปี 2007 เขาก็ย้ายไป ECW ใช้ชื่อว่า จอห์น มอร์ริสัน และคว้า แชมป์โลก ECW เป็นสมัยแรกมาได้ซึ่งถือว่าเป็นแชมป์โลกครั้งแรกของเขา ในช่วงปลายปี 2007 เขาได้คู่แทคทีมกับ เดอะ มิซ ในชื่อ จอห์น มอร์ริสัน และเดอะ มิซ และก็ยังคว้าได้ทั้ง แชมป์โลกแทคทีม และ แชมป์แทคทีม WWE ในปี 2009 ทั้งคู่ก็เสียแชมป์ให้กับ คาร์ลิโต้ และ พรีโม ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 25 เป็นแมตช์ก่อนเริ่มรายการ[7] จากนั้นเขาก็ถูก เดอะ มิซ หักหลัง และแตกทีมกันไป[8] ในเดือนกันยายน ปี 2009 เขาได้ย้ายกลับมาสแมคดาวน์ อีกครั้ง ในบทฝ่ายธรรมะ และคว้าแชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล คืนมาได้จาก เรย์ มิสเตริโอ ก่อนจะเสียแชมป์ให้กับ ดรูว์ แมคอินไตย์ ในศึก ทีแอลซี: เทเบิล แลดเดอร์ แอนด์ แชร์ (2009)[9] ในช่วงปี 2011 เขาก็เริ่มโชว์ฟอร์มได้ไม่ค่อยดีัปล้ำแพ้เกือบทุกแมตช์และไม่มีโอกาสได้ครองแชมป์อีกเลย ในช่วงปลายปี 2011 เขาได้ใกล้จะหมดสัญญากับ WWE แล้วไม่ขอต่อสัญญาอีกด้วยเขาได้ปล้ำแมตช์สั่งลาในรอว์ (28 พฤศจิกายน 2011) เจอกับ เดอะ มิซ แต่ก็โดน เดอะ มิซ ใส่ Skull Crushing Finale กับพื้นทางเปิดตัวจนแพ้น็อคเอาท์ หลังแมตช์ทีมงานต้องออกมาหามขึ้นเปลกลับไปหลังเวที จากนั้นเขาก็ได้ลาออกจาก WWE ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว[10]

เกี่ยวกับมวยปล้ำ

จอห์น มอร์ริสัน ใช้ท่า Starship Pain เล่นงานใส่ ดอล์ฟ ซิกก์เลอร์
  • ท่าไม้ตาย
    • The Moonlight Drive (Corkscrew neckbreaker)
    • Nitro Blast (Superkick)
    • Running knee strike to a seated opponent's head
    • Starship Pain (Split-legged corkscrew moonsault)
  • ท่าเอกลักษณ์
    • 180° spun flare transitioned into a leg drop
    • Belly to back wheelbarrow facebuster
    • Corkscrew plancha
    • European uppercut
    • Multiple kick variations
      • Flying Chuck
      • Spinning heel
      • Step-up jumping high
    • Russian legsweep
    • Springboard moonsault
    • Springboard or a slingshot elbow drop
    • Standing moonsault side slam
    • Standing shooting star press
    • STO backbreaker followed โดย either a Russian legsweep or a neckbreaker
    • Tilt-a-whirl DDT
  • ฉายาและชื่ออื่นๆ
    • "The Guru of Greatness"
    • "JoMo"
    • "The Monday / Tuesday / Friday Night Delight"
    • "The New Face of Extreme"
    • "The Prince of Parkour"
    • "The Shaman of Sexy"
  • เพลงเปิดตัว
    • WCW Monday Nitro theme song (2004)
    • "Paparazzi" โดย Jim Johnston (2005 – กรกฎาคม 2007)
    • "Ain't No Make Believe (instrumental) " (กรกฎาคม 2007 – สิงหาคม 2007)
    • "Ain't No Make Believe" โดย Stonefree Experience (สิงหาคม 2007 – 28 พฤศจิกายน 2011)

ผลงานทั้งหมด

จอห์น มอร์ริสัน กับ แชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล
  • Pro Wrestling Illustrated
    • PWI นักมวยปล้ำที่ดีที่สุดแห่งปี (2009)
    • PWI คู่แทคทีมแห่งปี (2005) คู่กับ โจอี เมอร์คิวรี
  • World Wrestling Entertainment
    • ECW World Championship (3 สมัย)
    • World Tag Team Championship (1 สมัย) – คู่กับ เดอะ มิซ
    • WWE Intercontinental Championship (5 สมัย)
    • WWE Tag Team Championship (4 สมัย) – คู่กับ โจอี เมอร์คิวรี (3) และ เดอะ มิซ (1)
    • สแลมมีอวอร์ด for Tag Team of the Year (2008) – คู่กับ เดอะ มิซ
    • สแลมมีอวอร์ด for Best WWE.com Exclusive (2008) – คู่กับ เดอะ มิซ
    • WWE Tough Enough ซีซั่น 3 คู่กับ แมทท์ แคปโปเทลลี
  • World Wrestling Fan Xperience
    • WWFX Heavyweight Championship (1 สมัย)
  • Wrestling Observer Newsletter
    • แทคทีมยอดเยี่ยมแห่งปี (2008) คู่กับ เดอะ มิซ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Giebink, Dustin (2004-04-21). "Constructive Criticism: Part One: OVW March television shows". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 2007-06-28. Hennigan was going by the name "Johnny Superstar" here...
  2. Zitz, Michael (2006-12-18). "Wrestling fans are K-Fed up Federline has that going for him". The Free Lance–Star. สืบค้นเมื่อ 2007-08-19.
  3. "John Morrison Profile". Online World Of Wrestling. สืบค้นเมื่อ 2008-03-27.
  4. "MTV On Air – Tough Enough". MTV. สืบค้นเมื่อ 2007-04-08. In the end, Matt and John were chosen to be the winners of Tough Enough 3.
  5. Plummer, Dale (2005-04-22). "Smackdown: New tag champs crowned". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2009-02-23.
  6. Williams III, Ed (2006-05-21). "London & Kendrick are golden; MNM are broken". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-08.
  7. Burdick, Michael (2009-04-05). "Brothers united". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2010-06-25.
  8. Plummer, Dale (2009-04-14). "RAW: Drafting a fresh start for the WWE". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2009-04-14.
  9. "Results: The party's just begun". World Wrestling Entertainment. 2009-12-13. สืบค้นเมื่อ 2009-12-14.
  10. "WWE News: WWE acknowledges end of John Morrison's contract, Laurinaitis wishes Morrison well in future endeavors". Pro Wrestling Torch. สืบค้นเมื่อ 29 November 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น