ธงชาติเยอรมนี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
ชื่ออื่น ธงสหพันธ์และธงพาณิชย์
(Bundesflagge und Handelsflagge)
การใช้ ธงชาติ, ธงเรือรัฐบาล, ธงเรือราษฎร์ Small vexillological symbol or pictogram in black and white showing the different uses of the flag
สัดส่วนธง 3:5
ประกาศใช้ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949
ลักษณะ ธงสามสี ประกอบด้วย สีดำ-สีแดง-สีทอง
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
ชื่ออื่น ธงบัญชาการสหพันธ์และธงศึก
(Bundesdienstflagge und Kriegsflagge)
การใช้ ธงรัฐบาล, ธงเรือรัฐ, ธงศึก Small vexillological symbol or pictogram in black and white showing the different uses of the flag
สัดส่วนธง 3:5
ประกาศใช้ 7 มิถุนายน ค.ศ. 1950
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
ชื่ออื่น ธงบัญชาการกองทัพเรือแห่งบุนเดิสแวร์
(Dienstflagge der Seestreitkräfte der Bundeswehr)
การใช้ ธงเรือ Small vexillological symbol or pictogram in black and white showing the different uses of the flag
สัดส่วนธง 3:5
ประกาศใช้ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1956

ธงชาติเยอรมนี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน แบ่งเป็นแถบสี 3 แถบ ตามแนวนอน คือ สีดำ สีแดง และสีทอง มีชื่อเรียกในภาษาเยอรมันว่า "Schwarz-Rot-Gold" แปลว่า ธงดำ-แดง-ทอง ตามสีของธง

ต้นกำเนิด[แก้]

แบบธงชาติ[แก้]

การออกแบบ[แก้]

มาตรา 22 ของรัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี แห่งกฎหมายเบื้องต้นแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี, ได้บัญญัติไว้ดังนี้:

"ธงสหพันธรัฐ มีลักษณะเป็นธงแถบสีดำ-แดง-ทอง."[1]

ข้อความดังกล่าวถูกบัญญัติโดยรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐ (เยอรมนีตะวันตก) ในปี ค.ศ. 1950, เป็นธงแถบตามยาวขนาดเท่ากันสามแถบ สัดส่วนธง กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน;[2] ในสมัยของสาธารณรัฐไวมาร์ ใช้สัดส่วนธง กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน.[3]

ค่าสีในธงชาติเยอรมนีไม่ได้กำหนดค่าสีอย่างเป็นทางการ และ ในบางโอกาสค่าสีในธงได้มีการเปลี่ยนแปลงนับตั้งแต่นั้น.[4] คณะรัฐมตรีแห่งสหพันธสาธารณรัฐ ได้ประกาศcorporate design สำหรับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1999, มาตรฐานของสีธงชาติ กำหนดตามตารางที่แสดงต่อไปนี้:

แบบการสร้างธงชาติเยอรมนี
ธงแถบดำ-แดง-ทอง. เป็นแบบธงชาติที่นิยมใช้โดยทั่วไป ก่อนมีการออกรัฐบัญญัติแห่งสหพันธรัฐว่าด้วยการออกแบบธงชาติ ค.ศ. 1999. โดยกล่าวถึงแถบสีแดงในธงสว่างขึ้น.
ระบบสี สีดำ สีแดง สีทอง
RAL 9005
Jet black
3020
Traffic red
1021
Cadmium yellow
HKS 0, 0, 0 5.0PB 3.0/12 6.0R 4.5/14
CMYK 0.0.0.100 0.100.100.0 0.12.100.5
Pantone Black 485 7405*
HTML Hexadecimals #000000 #FF0000 #FFCC00
HTML Decimals 0,0,0 255,0,0 255,204,0

*The value given here is an alternative to the following more-complicated combination: Yellow (765 g), Red 032 (26 g), Black (11 g), Transp. White (198 g)

สีเหลือง หรือ สีทอง[แก้]

วันธง[แก้]

ข้อบังคับแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005), ต้องชักประจำอาคารสำนักงานของทางราชการในทำการปกติหรือวันสำคัญของชาติที่ให้มีการประดับธง. ไม่นับรวมกับวันหยุดของทางราชการ.

The Stadtweinhaus in Münster with banners displayed in mourning (note the black ribbons atop each mast) after the death of former German president Johannes Rau in 2006
วัน ชื่อ ความสำคัญ
27 มกราคม วันอนุสรณ์สำหรับเหยื่อของลัทธิชาติสังคมนิยม
Tag des Gedenkens an die Opfer des Nationalsozialismus
วันครบรอบปีการปลดปล่อยค่ายกักกันเอาชวิทซ์ (ลดธงครึ่งเสา)
1 พฤษภาคม วันแรงงานสากล
Tag der Arbeit
ก่อตั้งให้สหภาพแรงงานเยอรมนีเพื่อแสดงออกถึงการส่งเสริมสวัสดิการของแรงงาน
9 พฤษภาคม วันสหภาพยุโรป
Europatag
วันครบรอบปีปฏิญญาชูมัน อันนำไปสู่สหภาพยุโรป (พ.ศ. 2493)
23 พฤษภาคม วันรัฐธรรมนูญ วันครบรอบปีรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ (พ.ศ. 2492)
17 มิถุนายน Jahrestag des 17. Juni 1953 วันครบรอบปีการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953
20 กรกฎาคม Jahrestag des 20. Juli 1944 วันครบรอบปีแผนลับ 20 กรกฎาคม อันเป็นความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ที่ล้มเหลว โดยเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก (พ.ศ. 2487)
3 ตุลาคม วันเอกภาพเยอรมนี
Tag der Deutschen Einheit
วันครบรอบปีการรวมประเทศเยอรมนี (พ.ศ. 2533)
วันอาทิตย์สองสัปดาห์ก่อน first Advent วันไว้อาลัยแห่งชาติ
Volkstrauertag
ระลึกถึงผู้เสียชีวิตทั้งหมดในยามสงคราม (ลดธงครึ่งเสา)
Source: Federal Government of Germany[5]

ธงรัฐชาติเยอรมนีในอดีต[แก้]

  • ธงฉานใช้ร่วมกับธงศึกตั้งแต่ค.ศ. 1903 เป็นต้นไป

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์[แก้]

ธงศึก ค.ศ. 1200-1350
ธงชาติ ค.ศ. 1430–1806

สมาพันธรัฐเยอรมัน (ค.ศ. 1815–66)[แก้]

ธงศึก ค.ศ. 1848-52


สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (ค.ศ. 1867–71)[แก้]

ธงชาติ ค.ศ. 1867–1918
ธงฉาน ค.ศ. 1867-1903

ไรช์เยอรมัน (ค.ศ. 1871–1945)[แก้]

จักรวรรดิเยอรมัน (1871–1918)[แก้]

ธงชาติ ค.ศ. 1867–1918
ธงฉาน ค.ศ. 1867-1903

สาธารณรัฐไวมาร์ (1919–33)[แก้]

ธงชาติ ค.ศ.1919–33
ธงพาณิชย์ ค.ศ.1919–33
ธงรัฐบาลกลาง
ค.ศ. 1921-33
ธงเรือรัฐบาลกลาง
ค.ศ. 1921-26

นาซีเยอรมนี (1933–45)[แก้]

ธงชาติ ค.ศ. 1933–35
ธงชาติ ค.ศ. 1935–45
ธงไรช์กิจ ค.ศ. 1935–45

เยอรมนีตะวันออก (ค.ศ. 1949–89)[แก้]

ธงในเยอรมนีตะวันออก (ค.ศ. 1949–90)
ธงชาติ/ธงราชการ ค.ศ. 1959–1990
ธงพาณิชย์/ธงเรือพลเรือน ค.ศ. 1959–1973

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กฎหมายเบื้องต้นแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐยอรมนี (23 พฤษภาคม ค.ศ. 1949). German version and English version (December 2000) (PDF). See Article 22. Retrieved on 24 February 2008. Archived กุมภาพันธ์ 27, 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  2. Federal Government of Germany (1950-07-07). "Anordnung über die deutschen Flaggen" [Arrangement of the German Flag]. documentArchiv.de (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 2007-08-09.
  3. Government of the German Reich (1921-04-11). "Verordnung über die deutschen Flaggen" [Regulation on the German Flags]. documentArchiv.de (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 2007-08-09.
  4. "Colours of the Flag (Germany)". Flags of the World. 5 August 1998. สืบค้นเมื่อ 2008-02-24. Contains a letter from the German Ministry of the Interior (30 July 1998)
  5. Federal Government of Germany (2005-03-22). "Beflaggungserlass der Bundesregierung". Verwaltung Online (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-16. สืบค้นเมื่อ 2008-02-24.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]