ตราแผ่นดินของเยอรมนี
ตราอาร์มของเยอรมนี | |
---|---|
ตราอาร์มรุ่นต่าง ๆ | |
เหยี่ยวที่ใช้โดยสถาบันของรัฐบาล | |
รายละเอียด | |
ผู้ใช้ตรา | รัฐบาลกลางแห่งเยอรมนี |
เริ่มใช้ | 20 มกราคม ค.ศ. 1950 |
โล่ | พื้นตราสีทอง เหยี่ยวสีดำ, ขา จะงอยปาก และลิ้นสีแดง |
ตราย่อ / ตรารุ่นก่อนหน้า | รุ่นปัจจุบันเริ่มนำมาใช้ระหว่างปลายสมัยสาธารณรัฐไวมาร์ |
ตราแผ่นดินของเยอรมนี (เยอรมัน: Bundesadler) เป็นตราอาร์มของประเทศเยอรมนีที่ประกอบด้วยเหยี่ยว สีของตราคล้ายกับสีของธงชาติเยอรมนี (ดำ แดง และ ทอง) และเป็นตราประจำชาติที่เก่าที่สุดตราหนึ่งของยุโรป และของโลก[ต้องการอ้างอิง]
ยุคกลางและจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
[แก้]ประวัติของการใช้เหยี่ยวเป็นสัญลักษณ์เริ่มตั้งแต่สมัยแรก จักรวรรดิโรมันและจักรวรรดิไบแซนไทน์สงวนการใช้รูปเหยี่ยวสำหรับสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้นโดยเฉพาะสำหรับพระเจ้า และ จักรพรรดิ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความคงกระพัน ต่อมาเหยี่ยวก็กลายเป็นสัญลักษณ์ของหลวงในรูปของเหยี่ยวทอง (Golden Eagle) ที่เรียกกันในภาษาเยอรมันว่า “เหยี่ยวเยอรมัน” (Reichsadler) ที่อาจจะใช้มาตั้งแต่รัชสมัยของชาร์เลอมาญ (ค.ศ. 742–ค.ศ. 814) ราวปี ค.ศ. 1200 เหยี่ยวดำบนทุ่งทองมักจะทราบกันว่าเป็นตราอาร์มหลวง
ในปี ค.ศ. 1433 ก็เริ่มมีการใช้เหยี่ยวสองหัวเป็นครั้งแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิซิจิสมุนด์แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่นั้นมาเหยี่ยวสองหัวกลายมาเป็นสัญลักษณ์ของจักรพรรดิเยอรมัน และเป็นตราอาร์มจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จากตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมาจักรพรรดิก็ทรงใส่ตราของราชวงศ์ของตนเองบนอกของเหยี่ยว หลังจากการสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1806 รัฐเยอรมันและสัญลักษณ์ของรัฐร่วมก็สิ้นสุดลง
ตราอาร์มของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ | |||
---|---|---|---|
ตราอาร์มของ จักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 ในฐานะพระมหากษัตริย์เยอรมนี ค.ศ. 1446 |
ตราอาร์มของ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในหนังสือ |
ตราอาร์มของ จักรพรรดิโจเซฟที่ 2 ค.ศ. 1765 |
ตราอาร์มของ ค.ศ. 1804 - ค.ศ. 1806 ภายใต้จักรพรรดิองค์สุดท้าย จักรพรรดิฟรานซ์ที่ 2 (จักรพรรดิฟรานซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย) |
สมาพันธรัฐเยอรมัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตราแผ่นดินของสมาพันธรัฐเยอรมัน | |||
---|---|---|---|
ตราอาร์มของ (จักรพรรดิฟรานซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย) ค.ศ. 1815 |
ตราประทับเอกสารทางราชการ และ หน่วยงานราชการ | ตราแผ่นดินอย่างย่อ |
สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตราแผ่นดินของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ | |||
---|---|---|---|
ตราแผ่นดินของสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ ค.ศ. 1867–1871. |
จักรวรรดิเยอรมัน
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตราแผ่นดินของจักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1871–1918). | ||||
---|---|---|---|---|
มหาจลัญจกรณ์ใหญ่ของจักรพรรดิเยอรมัน: ใช้ในการประทับตราเอกสารราชการ. | มหาจลัญจกรณ์ใหญ่ของจักรพรรดิเยอรมัน: ใช้ในการประทับตราเอกสารในราชสำนัก. | Provisional arms of the German Empire at the Proclamation of Versailles.
27 เมษายน 1871–3 สิงหาคม 1871 |
ตราแผ่นดินของจักรวรรดิเยอรมัน, ค.ศ. 1871–1889.
3 สิงหาคม ค.ศ. 1871 – 1888 |
ตราแผ่นดินที่ใช้ในหน่วยงานราชการ และ เอกสารทางราชการ, ค.ศ. 1889–1918.
6 ธันวาคม ค.ศ. 1888 – 1918 |
สาธารณรัฐไวมาร์
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐไวมาร์ (ค.ศ. 1919–1933) | |||
---|---|---|---|
ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐไวมาร์. | ตราแผ่นดินสำหรับธงราชการของสาธารณรัฐไวมาร์. | ตราแผ่นดินตั้งแต่ ค.ศ. 1928 (Reichswappen) หรือReichsadler. |
ไรช์ที่สาม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตราแผ่นดินไรช์ (ค.ศ. 1935–1945) | |||
---|---|---|---|
ตรา โฮไอช์ไซเชิน (Hoheitszeichen) ใช้ในรัฐบาลและสภา |
ตรา พาร์ไตอัดเลอร์ (Parteiadler) ใช้ในพรรคนาซี |
สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี
[แก้]ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี | ||
---|---|---|
ค.ศ. 1950–1953. | ค.ศ. 1953–1955. | ค.ศ. 1955–1990. |
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
[แก้]ตราแผ่นดิน (Bundeswappen) | ตราแผ่นดินสำหรับธงราชการ และ ธงกองทัพ (Bundesschild). | ธงประธานาธิบดี. | ตราแผ่นดินบนหนังสือเดินทาง และ สถาบันของรัฐบาล. | ตราแผ่นดินบนเหรียญ1 มาร์คเยอรมัน (ถึง ค.ศ. 2002). |
อ้างอิง
[แก้]- Ströhl, Hugo Gerard: Deutsche Wappenrolle, Stuttgart 1897 (Reprint Cologne - ISBN 3-89836-545-X)
- Laitenberger, Birgit; Bassier, Maria: Wappen und Flaggen der Bundesrepublik Deutschland und ihrer Länder, 5th revised edition, Cologne 2000 - ISBN 3-452-24262-5
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Ströhl, Hugo Gerard (1897), Deutsche Wappenrolle (Reprint Cologne ed.), Stuttgart, ISBN 3-89836-545-X.
- Laitenberger, Birgit; Bassier, Maria (2000), Wappen und Flaggen der Bundesrepublik Deutschland und ihrer Länder (5th revised ed.), Cologne, ISBN 3-452-24262-5.