ข้ามไปเนื้อหา

แชมป์กีฬา 7HD

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ช่อง 7HD มีนโยบายสำคัญประการหนึ่ง ในอันที่จะมีส่วนร่วมพัฒนาวงการกีฬาในประเทศไทยให้ก้าวหน้าไปสู่ระดับสากล พร้อมทั้งให้การสนับสนุนแก่เยาวชนไทย ให้ความสนใจกับการเล่นกีฬา เพื่อส่งเสริมให้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วย

โดยเริ่มจากปี พ.ศ. 2527 ทางสถานีฯ ริเริ่มจัดการแข่งขันกีฬาสำหรับเยาวชนขึ้น ตามโครงการ แชมป์กีฬา 7 สี จนกระทั่งเกิดนักกีฬารุ่นใหม่ ที่ประสบความสำเร็จในระดับประเทศจำนวนมาก เช่น ศิริมงคล สิงห์วังชา อดีตแชมป์สภามวยโลก ในรุ่นแบนตั้มเวทและซูเปอร์เฟเธอร์เวท, เรวดี ศรีท้าว (วัฒนสิน) นักกรีฑา เจ้าของเหรียญทองซีเกมส์หลายสมัย, มนัสนันท์ แพงขะ - รัตนาภรณ์ อาลัยสุข นักกีฬาวอลเลย์บอลชายหาด เจ้าของเหรียญทองเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13, ศรสวรรค์ ภู่วิจิตร - มธุรดา คุโณปการ - ดุลยฤทธิ์ พวงทอง นักกีฬาว่ายน้ำ เจ้าของเหรียญทองซีเกมส์หลายสมัย และยังร่วมจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียน 7 คน เป็นรายการแรกของประเทศไทย และยังร่วมสนับสนุนส่งเสริมเยาวชนไทย ให้ก้าวสู่การแข่งขันกีฬาระดับอาชีพ ผ่านการแข่งขันเทนนิส "แชมป์กีฬา 7 สี กรุงศรีฯ สานฝัน ตามรอยภราดร" และ การแข่งขันกอล์ฟ "แชมป์กีฬา 7 สี กรุงศรีฯ สานฝัน ตามรอยวิรดา"

ฟุตบอล

[แก้]
ปี
(ค.ศ.)
ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับที่ 4
2003 กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 5–3 ปทุมคงคา
2004 พณิชยการราชดำเนิน 6–4 วัดสุทธิวราราม
2005 ราชวินิตบางแก้ว 6–1 ปทุมคงคา จุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี และศึกษานารีวิทยา
2006 จุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี 1–0 ปทุมคงคา ราชวินิตบางแก้ว และอัสสัมชัญศรีราชา
2007 ราชวินิตบางแก้ว 3–1 จุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี ปทุมคงคา และสวนกุหลาบวิทยาลัย
2008 สารวิทยา 7–3 ราชวินิตบางแก้ว สวนกุหลาบวิทยาลัย และอัสสัมชัญธนบุรี
2009 อัสสัมชัญศรีราชา 2–2
(5–3)
กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย สวนกุหลาบวิทยาลัย และสารวิทยา
2010 อัสสัมชัญศรีราชา 2–1 ราชวินิตบางแก้ว สวนกุหลาบวิทยาลัย และอัสสัมชัญ
2011 นวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี 3–3
(6–4)
กีฬากรุงเทพมหานคร กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และอัสสัมชัญศรีราชา
2012 อัสสัมชัญธนบุรี 3–0 อัสสัมชัญศรีราชา สวนกุหลาบวิทยาลัย และสารวิทยา
2013 อัสสัมชัญธนบุรี 4–2 ราชวินิตบางแก้ว กีฬาจังหวัดขอนแก่น และอัสสัมชัญศรีราชา
2014 อัสสัมชัญธนบุรี 2–0 สุรศักดิ์มนตรี ราชวินิตบางแคปานขำ และอัสสัมชัญศรีราชา
2015 สุรศักดิ์มนตรี 3–0 ท่าข้ามพิทยาคม ราชวินิตบางเขน และอัสสัมชัญธนบุรี
2016 โพธินิมิตวิทยาคม 4–2 สุรศักดิ์มนตรี ท่าข้ามพิทยาคม และอัสสัมชัญธนบุรี
2017 สุรศักดิ์มนตรี 7–1 ราชวินิตบางเขน ท่าข้ามพิทยาคม และสารวิทยา
2018 สุรศักดิ์มนตรี 3–2 ราชวินิตบางเขน ธัญรัตน์ และอัสสัมชัญธนบุรี
2019 ราชวินิตบางเขน 4–2 อัสสัมชัญธนบุรี ท่าข้ามพิทยาคม และอัสสัมชัญ
2022 เทพศิรินทร์ 1–0 โพธินิมิตวิทยาคม ท่าข้ามพิทยาคม และอัสสัมชัญธนบุรี
2023 กันทรารมณ์ 2–0 องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาท ท่าข้ามพิทยาคม และอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
2024 ภัทรบพิตร 7-1 ราชวินิตบางแก้ว สวนป่าเขาชะอางค์ และวิชูทิศ
2025

วอลเลย์บอล

[แก้]
ปี
(ค.ศ.)
ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับที่ 4
2014 ธุรกิจบัณฑิตย์ 3–2 รัตนบัณฑิต เกษมบัณฑิต และศรีปทุม
2015 รัตนบัณฑิต 3–0 ศรีปทุม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และธุรกิจบัณฑิตย์
2016 ศรีปทุม 3–1 รัตนบัณฑิต ธุรกิจบัณฑิตย์ และรังสิต
2017 รัตนบัณฑิต 3–0 ศรีปทุม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และธุรกิจบัณฑิตย์
2018 ศรีปทุม 3–0 รัตนบัณฑิต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และธุรกิจบัณฑิตย์
2019 กีฬานครนนท์วิทยา ๖ 3–0 เทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา เทศบาล 3 วัดไชนาวาส และหนองเรือวิทยา
2024 กีฬานครนนท์วิทยา ๖ 3–0 กีฬาจังหวัดอ่างทอง บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และวังจันทร์วิทยา
2025

บาสเกตบอล 3x3

[แก้]
ปี
(ค.ศ.)
ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับที่ 4
2025

เซปักตะกร้อ

[แก้]
ปี
(ค.ศ.)
ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับที่ 4
2025

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]