วอลเลย์บอลยุวชนอายุไม่เกิน 14 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอลเลย์บอลยุวชนอายุไม่เกิน 14 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้งพ.ศ. 2533
จำนวนทีมชาย: 16 ทีม
หญิง: 16 ทีม
ประเทศ ไทย
ทวีปเอวีซี (เอเชีย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดชาย: โรงเรียนอัสสัมชัญ (3 สมัย)
หญิง: โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี (3 สมัย)[1]

วอลเลย์บอลยุวชนอายุไม่เกิน 14 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย หรือ วอลเลย์บอลยุวชน "แอร์เอเชีย" รุ่นอายุไม่เกิน 14 ปี ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ แอร์เอเชีย เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับยุวชนรุ่นอายุไม่เกิน 14 ปี ของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2533[ต้องการอ้างอิง] จัดการแข่งขันโดยสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของ บริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำกัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ยุวชน ได้มีระเบียบมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ มีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ตลอดจนรู้จักใช้เวลาว่างให้กิดประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง และที่สำคัญคือยุวชนได้ห่างไกลยาเสพติด[2] ซึ่งทีมที่ชนะเลิศจะได้รับรางวัลถ้วยประทานทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี[3]

ทำเนียบแชมป์[แก้]

ประเภททีมชาย[แก้]

ปี จังหวัดเจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2556  อุบลราชธานี โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร
(จังหวัดกาฬสินธุ์)
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
2557  นครศรีธรรมราช โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญา ในพระอุปถัมภ์ (จังหวัดภูเก็ต) และ โรงเรียนเทศบาล 4 เชาวนปรีชาอุทิศ (จังหวัดนครปฐม) 16
2558[4]  สงขลา โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนมักกะสันพิทยา
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนขามทะเลสอวิทยา (จังหวัดนครราชสีมา) 12
2559[5]  สุพรรณบุรี โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
3–1 โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) และ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม (จังหวัดนครสวรรค์) 12
2560[6]  ร้อยเอ็ด โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–0 โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร (จังหวัดกาฬสินธุ์) และ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี) 16
2561[7]  นครศรีธรรมราช โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม
(จังหวัดนครสวรรค์)
3–1 โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนด่านช้างวิทยา (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) 16
2562[8]  หนองคาย โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง
(จังหวัดร้อยเอ็ด)
3–2 โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด
(จังหวัดร้อยเอ็ด)
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม (จังหวัดนครสวรรค์) และ โรงเรียนอัสสัมชัญ (กรุงเทพมหานคร) 16
2563[9]  สงขลา โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด
(จังหวัดร้อยเอ็ด)
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม (จังหวัดสระบุรี) 16
2564[10]  นครราชสีมา โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
3–2 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนเทศบาลบ้านสามเหลี่ยม (จังหวัดขอนแก่น) และ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม (จังหวัดนครสวรรค์) 16
2565  มหาสารคาม โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
3–1 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม
(จังหวัดสระบุรี)
โรงเรียนอัสสัมชัญ
(กรุงเทพมหานคร)
3–1 โรงเรียนท่าข้ามพิทยาคม
(จังหวัดชลบุรี)
16

ประเภททีมหญิง[แก้]

ปี จังหวัดเจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2556  อุบลราชธานี โรงเรียนสตรีนนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
2557  นครศรีธรรมราช โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนเทศบาลบ้านสามกอง (จังหวัดภูเก็ต) และ โรงเรียนหนองเรือวิทยา (จังหวัดขอนแก่น) 16
2558[4]  สงขลา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนเทศบาลบ้านสามกอง
(จังหวัดภูเก็ต)
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส (จังหวัดสุพรรณบุรี) และ โรงเรียนเทศบาล 1 (เอ็งเสียงสามัคคี) (จังหวัดสงขลา) 12
2559[5]  สุพรรณบุรี โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส
(จังหวัดสุพรรณบุรี)
3–2 โรงเรียนสตรีสิริเกศ
(จังหวัดศรีสะเกษ)
โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) และ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (จังหวัดนนทบุรี) 12
2560[11]  ร้อยเอ็ด โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
3–1 โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมภ์ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) และ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (จังหวัดนนทบุรี) 16
2561[7]  นครศรีธรรมราช โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
3–0 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม (จังหวัดสุโขทัย) และ โรงเรียนอุลิตไพบูลย์ชนูปถัมป์ (จังหวัดชัยนาท) 16
2562[8]  หนองคาย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
3–2 โรงเรียนชุมชนป้อมเพชร
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 (จังหวัดนนทบุรี) และ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (กรุงเทพมหานคร) 16
2563[9]  สงขลา โรงเรียนสุรนารีวิทยา
(จังหวัดนครราชสีมา)
3–0 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6
(จังหวัดนนทบุรี)
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (กรุงเทพมหานคร) และ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี
(จังหวัดนนทบุรี)
16
2564[10]  นครราชสีมา โรงเรียนเทศบาล 2 ชุมชนป้อมเพชร
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
3–2 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ (ชลบุรี) และ โรงเรียนสุรนารีวิทยา (จังหวัดนครราชสีมา) 16
2565  มหาสารคาม โรงเรียนเทศบาล 2 ชุมชนป้อมเพชร
(จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
3–1 โรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทอง
(จังหวัดอ่างทอง)
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
(กรุงเทพมหานคร)
3–2 โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม
(จังหวัดนครปฐม)
16

จำนวนครั้งที่ชนะเลิศ[แก้]

ประเภททีมชาย[แก้]

โรงเรียน ครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
โรงเรียนอัสสัมชัญ 3 2558, 2560, 2563
โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี
2
2564, 2565
โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม 2557, 2559
โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง
1
2562
โรงเรียนนวมินทราชูทิศ มัชฌิม 2561
โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร 2556

ประเภททีมหญิง[แก้]

โรงเรียน ครั้ง ปีที่ชนะเลิศ
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี 3 2560, 2561, 2562
โรงเรียนเทศบาล 2 ชุมชนป้อมเพชร
2
2564, 2565
โรงเรียนเทศบาล 3 วัดไชนาวาส 2557, 2559
โรงเรียนสุรนารีวิทยา
1
2563
โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 2558
โรงเรียนสตรีนนทบุรี 2556

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "ทำเนียบแชมป์ วอลเลย์บอลยุวชน อายุไม่เกิน 14 ปี". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-03-31. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.
  2. "สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประทศไทย และเทศบาลเมืองทุ่งสง ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวอลเลย์บอลยุวชน อายิโนะโมะโต๊ะ อายุไม่เกิน 14 ปี ครั้งที่ 1 ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ประจำปี 2562 ชิงถ้วยประทานทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี รอบคัดเลือกภาคใต้". สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-16. สืบค้นเมื่อ 2023-02-13.
  3. ""แอร์เอเชีย" ทุ่ม 1.7 ลบ.จัดลูกยาง 14 ปี". ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 2023-02-13.
  4. 4.0 4.1 "อัสสัมชัญ ควง นครนนท์ ซิวแชมป์เอเชียรอบประเทศ". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 "สระบุรีวิทยา ควง วัดไชนาวาส คว้าแชมป์แอร์เอเชีย 2559". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  6. "อัสสัมฯฟอร์มแจ่มทุบมัชฌิมสามเซตรวดซิวแชมป์แอร์เอเชีย 14 ปี". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  7. 7.0 7.1 "สวนกุหลาบนนท์ ควง มัชฌิมนครสวรรค์ ครองถ้วยแชมป์ยุวชน 14 ปี". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]
  8. 8.0 8.1 "สาวสวนกุหลาบนนท์ ควง หนุ่มวัดสระทอง คว้าแชมป์ประเทศอายิโนะโมะโต๊ะ". volleyball.or.th. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.
  9. 9.0 9.1 "หนุ่มอัสสัมชัญ – สาวสุรนารี คว้าแชมป์ 14 ปีอายิโนะโมะโต๊ะ ประจำปี 2563". volleyball.or.th. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.
  10. 10.0 10.1 "กีฬาสุพรรณบุรี ควง ป้อมเพชร คว้าแชมป์ 'เอสโคล่า' U14". smmsport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-17. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.
  11. "สวนนนท์มาแรงแซงคว้าชัยป้อมเพชรซิวแชมป์แอร์เอเชีย 14 ปี". smmsport. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2023.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]