สมเด็จพระจักรพรรดิฮัยเลอ ซึลลาเซที่ 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
"Haile Selassie" เปลี่ยนทางมาที่นี่ สำหรับนักมานุษยวิทยา ดูที่ โยฮันเนส ฮัยเลอ-ซึลลาเซ
"Ras Tafari" เปลี่ยนทางมาที่นี่ สำหรับขบวนการทางศาสนาที่บูชาเฮยิเล ซึลลาเซ ดูที่ ขบวนการราสทาฟารี
สมเด็จพระจักรพรรดิฮัยเลอ ซึลลาเซที่ 1
พระราชาธิราช(Negusa Nagast)
ผู้ปกป้องศรัทธา
Haile Selassie (1969).jpg
พระบรมฉายาลักษณ์เมื่อปี 1969
จักรพรรดิแห่งเอธิโอเปีย
ครองราชย์2 เมษายน 1930 – 12 กันยายน 1974[nb 1]
ราชาภิเษก2 พฤศจิกายน 1930
ก่อนหน้าเซาดีตู
ถัดไปอามฮา เซลาซี
นายกรัฐมนตรี
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ครองราชย์27 กันยายน 1916 – 2 เมษายน 1930
ก่อนหน้าเทสอซมา นาเดว
ถัดไปอีจีกาเยฮู อามฮา ซึลลาเซ
กษัตริย์เซวดีทู
คู่อภิเษกสมเด็จพระจักรพรรดินีเมเนน อัสเฟาแห่งเอธิโอเปีย
พระราชบุตรเจ้าหญิงโรมาเนเวิค เฮลี ซึลลาเซ
เจ้าหญิงเทเน็คเนเวิก
สมเด็จพระจักรพรรดิอัมฮา ซึลลาเซ แห่งเอธิโอเปีย
เจ้าหญิงเซเนเบเวิค
เจ้าหญิงซีไฮน์
เจ้าชายมาคอนเนน
เจ้าชายซาห์เล ซึลลาเซ
นามเต็ม
(ภาษาพื้นเมือง) Haile Selassie I (ቀዳማዊ ኀይለ ሥላሴ, qädamawi häylä səllasé);
(ภาษาอังกฤษ) "Power of the Trinity"
ราชวงศ์ซาฮเล ซึลลาเซ (ราชวงศ์โซโลมอนิกแขนงอามฮาริก)
พระราชบิดาMakonnen Wolde Mikael
พระราชมารดาYeshimebet Ali
ประสูติ23 กรกฎาคม ค.ศ. 1892(1892-07-23)
เอเยร์ซาโกโร, ฮาราเกตะวันออก, จักรวรรดิเอธิโอเปีย
ราส ทาฟารี มาโคนเนน
สวรรคต27 สิงหาคม ค.ศ. 1975(1975-08-27) (83 ปี)
พระราชวังแห่งชาติ, อาดดิสอาบาบา, รัฐสังคมนิยมเอธิโอเปีย
ฝังพระศพ5 พฤศจิกายน 2000
อาสนวิหารตรีเอกภาพอันศักดิ์สิทธิ์, อาดดิสอาบาบา, เอธิโอเปีย
ศาสนาเทวาเฮโดเอธิโอเปียออร์ทอดอกซ์
เฮยิเล ซึลลาเซ
ประธานสมาคมเอกภาพแอฟริกา1st & 5th
ดำรงตำแหน่ง
25 พฤษภาคม 1963 – 17 กรกฎาคม 1964
ถัดไป กามาล อาบเดล นาสเซร์
ดำรงตำแหน่ง
5 พฤศจิกายน 1966 – 11 กันยายน 1967
ก่อนหน้า Joseph Arthur Ankrah
ถัดไป Joseph-Désiré Mobutu
ธงพระอิสริยยศของจักรพรรดิ ฮัยเลอ ซึลลาเซที่1
หน้า
หลัง

สมเด็จพระจักรพรรดิฮัยเลอ ซึลลาเซที่ 1 (กีแอซ: ቀዳማዊ ኀይለ ሥላሴ ; การถอดเป็นอักษรโรมัน: Qädamawi Häylä Səllasé ;[nb 2]พระนามเดิม ทาฟารี มาโคนเนน; 23 กรกฎาคม 1892 - 27 สิงหาคม 1975)[3] เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิเอธิโอเปีย ครองราชย์ตั้งแต่ปี 1930 และสละราชสมบัติในปี 1974 และทรงเคยดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ก่อนขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ปี 1916 พระองค์เป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของเอธิโอเปีย[4][5] และเป็นสมาชิกในราชวงศ์โซโลมอนซึ่งสืบทอดเชื้อสายมาจากเมเนลิคที่หนึ่ง

พระองค์มีความพยายามในการพัฒนาเอธิโอเปียให้ทันสมัยผ่านการปฏิรูปทางการเมืองและสังคม รวมถึงร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศและยกเลิกทาส รวมถึงเป็นผู้บัญชาการการรบในสงครามกับอิตาลีครั้งที่สองซึ่งจบลงด้วยความพ่ายแพ้ ขณะประเทศอยู่ภายใต้ปกครองของอิตาลีพระองค์ทรงลี้ภัยอยู่ในอังกฤษก่อนจะเสด็จกลับเอธิโอเปียในปี 1941 หลังอังกฤษเอาชนะอิตาลีในยุทธการแอฟริกาตะวันออก พระองค์ทรงยุบเลิกสหพันธ์เอธิโอเปียและเอริเทรียซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยสภาของสหประชาชาติในปี 1950 และรวมเอริเทรียเข้าเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศภายใต้การต่อสู้เพื่อกดขี่การพยายามแยกตัวเป็นอิสระ[6]

พระองค์ทรงเป็นผู้มีความสากลนิยมมาก และนำพาเอธิโอเปียเข้าเป็นสมาชิกของสหประชาชาติ[7] และในปี 1963 ได้นำการจัดตั้งรวมถึงเป็นประธานคนแรกขององค์กรสามัคคีแอฟริกา ซึ่งในปัจจุบันคือสหภาพแอฟริกา พระองค์ทรงถูกล้มราชบัลลังก์ในปีโดยการรัฐประหารของกองทัพภายใต้ชื่อคณะเดร์กในปี 1974 ทรงถูกสำเร็จโทษโดยคณะรัฐประหารและเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 1975 [8]

อ้างอิง[แก้]

  1. Talbot, David Abner (1966). Ethiopia: Liberation Silver Jubilee 1941-1966. Addis Ababa, Ethiopia: Ministry of Information. pp. 64–66.
  2. "Haile Selassie". Merriam-webster. สืบค้นเมื่อ 24 April 2014..; "Haile Selassie". Dictionary. Reference. สืบค้นเมื่อ 24 April 2014..
  3. Page, Melvin Eugene; Sonnenburg, Penny M. (2003). Colonialism: an international, social, cultural, and political encyclopedia. Vol. 1. ABC-CLIO. p. 247. ISBN 978-1-57607-335-3.
  4. Erlich, Haggai (2002), The Cross and the River: Ethiopia, Egypt, and the Nile. Lynne Rienner Publishers. ISBN 1-55587970-5, p. 192.
  5. Murrell, p. 148
  6. Ewing, William H.; Abdi, Beyene (1972). Consolidated Laws of Ethiopia Vol. I. Addis Ababa: The Faculty of Law Haile Sellassie I University. pp. 45–46.
  7. Karsh, Efraim (1988), Neutrality and Small States. Routledge. ISBN 0-41500507-8, p. 112.
  8. Salvano, Tadese Tele (2018). የደረግ አነሳስና (የኤርትራና ትግራይ እንቆቅልሽ ጦርነት) [The Derg Initiative (The Eritrean-Tigray Mysterious War)]. Tadese Tele Salvano. pp. 81–97. ISBN 978-0791596623.

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ก่อนหน้า สมเด็จพระจักรพรรดิฮัยเลอ ซึลลาเซที่ 1 ถัดไป
สมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย 2leftarrow.png Imperial coat of arms of Ethiopia (Haile Selassie).svg
สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งเอธิโอเปีย
(ราชวงศ์โซโลมอน)

(พ.ศ. 2473พ.ศ. 2517)
2rightarrow.png สิ้นสุดระบอบราชาธิปไตย(เผด็จการคอมมิวนิสต์เดร์ก)
เผด็จการคอมมิวนิสต์เดร์ก 2leftarrow.png Imperial coat of arms of Ethiopia (Haile Selassie).svg
สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งเอธิโอเปีย
(ราชวงศ์โซโลมอน)
ภายใต้กฎหมาย

(พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518)
2rightarrow.png สมเด็จพระจักรพรรดิอัมฮา ซึลลาเซ แห่งเอธิโอเปีย


ก่อนหน้า สมเด็จพระจักรพรรดิฮัยเลอ ซึลลาเซที่ 1 ถัดไป
แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ 2leftarrow.png บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์
(ค.ศ. 1935)
2rightarrow.png วอลลิส ซิมป์สัน
  1. In exile from 2 May 1936 – 20 January 1941[1]
  2. ภาษาอังกฤษ: /ˈhli səˈlæsi, -ˈlɑːsi/[2]