ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหากัสสปะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
| วันเกิด =
| วันเกิด =
| วันประสูติ =
| วันประสูติ =
| สถานที่เกิด =
| สถานที่เกิด = หมู่บ้านมหาติตถะ [[แคว้นมคธ]]
| สถานที่ประสูติ = มหาติตถะ [[เมืองราชคฤห์]] [[แคว้นมคธ]]
| สถานที่ประสูติ =
| สถานที่บวช = [[ต้นไทร]]พหุปุตตนิโครธ ระหว่าง[[เมืองราชคฤห์]] กับ[[นาลันทา]]
| สถานที่บวช = [[ต้นไทร]]พหุปุตตนิโครธ ระหว่าง[[เมืองราชคฤห์]] กับ[[นาลันทา]]
| วิธีบวช = โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา
| วิธีบวช = โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา
| สถานที่บรรลุธรรม =
| สถานที่บรรลุธรรม = พหุปุตตเจดีย์
| ตำแหน่ง =
| ตำแหน่ง =
| เอตทัคคะ = ผู้มีธุดงค์มาก
| เอตทัคคะ = ผู้มีธุดงค์มาก
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
| นิพพาน =
| นิพพาน =
| สถานที่เสียชีวิต =
| สถานที่เสียชีวิต =
| สถานที่นิพพาน = [[ภุเขากุกกุฏสัมปาต]]
| สถานที่นิพพาน = [[เขากุกกุฏสัมปาต]]
| ชาวเมือง =
| ชาวเมือง =
| นามบิดา = กปิลพราหมณ์
| นามบิดา = กปิลพราหมณ์
| นามพระบิดา =
| นามพระบิดา =
| นามพระราชบิดา =
| นามพระราชบิดา =
| นามมารดา = สุมนเทวีพราหมณี
| นามมารดา =
| นามพระมารดา =
| นามพระมารดา =
| นามพระราชมารดา =
| นามพระราชมารดา =
| วรรณะเดิม = [[พราหมณ์]]
| วรรณะเดิม = [[พราหมณ์]]
| ราชวงศ์ =
| ราชวงศ์ =
| การศึกษา = จบ[[พระเวท]]
| การศึกษา =
| อาชีพ =
| อาชีพ =
| ชื่อสถานที่ = ประตูถ้ำสัตตบรรณคูหาข้างภูเขาเวภาระ กรุง[[ราชคฤห์]] [[แคว้นมคธ]] สถานที่ทำสังคายนาครั้งแรก
| ชื่อสถานที่ = ประตูถ้ำสัตตบรรณคูหาข้างภูเขาเวภาระ กรุง[[ราชคฤห์]] [[แคว้นมคธ]] สถานที่ทำสังคายนาครั้งแรก
| หมายเหตุ =
| หมายเหตุ =
}}
}}
'''พระมหากัสสปะ''' เป็น[[พระอรหันต์]][[สาวก]]องค์หนึ่งของ[[พระโคตมพุทธเจ้า]] เป็น[[เอตทัคคะ]]ที่ทรงยกย่องและให้ถือเป็นแบบอย่างในด้าน'''ผู้มีธุดงค์มาก''' ภายหลังที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ท่านได้เป็นประธานในการ[[สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ]]
'''พระมหากัสสปะ''' เป็น[[พระอรหันต์]][[สาวก]]องค์หนึ่งของ[[พระโคตมพุทธเจ้า]] เป็น[[เอตทัคคะ]]ที่ทรงยกย่องและให้ถือเป็นแบบอย่างในด้าน'''ผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์'''<ref name="ปฐมวรรค">[http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd20.htm ปฐมวรรค], พระสุตตัตนตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต ๑๔. เอตทัคควรรค ๑. ปฐมวรรค</ref> ภายหลังที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ท่านได้เป็นประธานในการ[[สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ]]


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
=== ก่อนบวช ===
'''พระมหากัสสปะ''' มีพระนามเดิมว่า '''ปิปผลิ''' เป็นบุตรของกปิลพราหมณ์และสุมนเทวีพราหมณี เกิดที่เมืองราชคฤห์ ตอนวัยเด็ก ขณะที่ปิปผลิกุมารได้วิ่งเล่นออกจากพระราชวังนั้น ได้เห็น[[ภิกษุ]]รูปหนึ่งกำลังทำ[[สมาธิ]] จึงเกิดความเลื่อมใส คิดอยากจะออกบวชในวัยหนุ่ม เมื่ออายุเข้าย่างสู่ 20 ปี ได้แต่งงานกับพราหมณีนามว่า[[พระภัททากปิลานี|ภัททกาปิลานี]] อาศัยอยู่ในเมือง[[สาคละ]] [[แคว้นมัททะ]] ซึ่งมีพราหมณ์คนหนึ่งตามมาขอ และทั้งก็ได้แต่งงานกันอย่างสมเกียรติ และหลังจากแต่งงาน ภัททกาปิลานีก็ได้มาอยู่ที่บ้านของปิปผลิภาณพ เมื่อมารดาบิดาของทั้งสองฝ่ายถึงแก่กรรม ทั้งสองจึงได้ออกบวชใน[[ศาสนาพุทธ]] ระหว่างเมือง[[ราชคฤห์]]กับ[[นาลันทา]] (บ้านเกิด[[พระสารีบุตร]])
พระมหากัสสปะมีนามว่า '''ปิปผลิ''' เป็นบุตรของกปิลพราหมณ์ เกิดที่หมู่บ้านมหาติตถะ แคว้นมคธ เมื่ออายุเข้าย่างสู่ 20 ปี มารดาบิดาของท่านรบเร้าให้ท่านแต่งงาน ท่านปฏิเสธเพราะตั้งใจว่าเมื่อดูแลมารดาบิดาจนทั้งสองเสียชีวิตแล้วก็จะออกบวช แต่มารดาบิดาของท่านยังยืนยันให้ท่านแต่งงานเพื่อดำรงวงศ์ตระกูล ปิปผลิจึงจ้างช่างหล่อทองคำเป็นรูปหญิงสาว ประดับด้วยผ้านุ่งสีแดง ดอกไม้ และเครื่องประดับต่าง ๆ แล้วบอกมารดาว่าถ้าหาหญิงสาวลักษณะตามรูปปั้นดีได้จึงจะยอมแต่งงาน มารดาของท่านจึงให้พราหมณ์ ๘ คนนำรูปหล่อไปตามหาหญิงสาวที่มีลักษณะตามนั้น เมื่อได้พบ[[พระภัททกาปิลานี|นางภัททากาปิลานี]] จึงแจ้งให้กบิลพราหมณ์ทราบ ปิปผลิและภัททาต่างไม่อยากแต่งงานจึงแอบส่งจดหมายขอให้อีกฝ่ายหาคู่ครองใหม่ แต่คนถือจดหมายได้แปลงข้อความในจดหมาย ทั้งสองจึงได้แต่งงานกันในที่สุด<ref name="อรรถกถาสูตรที่ ๔">[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=146&p=4 อรรถกถาสูตรที่ ๔ ประวัติพระมหากัสสปเถระ], อรรถกถาอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอตทัคคบาลี วรรคที่ ๑</ref>


=== ออกบวช===
== การทำสังคายนา ==
วันหนึ่ง ปิปผลิไปตรวจนาเห็นฝูงนกจิกกินไส้เดือน จึงถามบริวารว่าบาปของสัตว์พวกนั้นตกแก่ใคร บริวารว่าตกแก่ท่านปิปผลิ เขาสังเวชใจว่าถ้าอกุศลกรรมแบบนี้ตกแก่ท่านแล้ว ต่อให้เวียนว่ายตายเกิดสักพันชาติก็คงไม่พ้นทุกข์ กลับถึงบ้านแล้วจึงบอกภรรยาว่าจะออกบวช ภรรยาของท่านก็จะออกบวชเช่นกัน ทั้งสองปลงผมนุ่งห่มผ้ากาสายะ ตั้งใจออกบวชเพื่ออุทิศพระอรหันต์ในโลก<ref name="จีวรสูตร">[http://www.geocities.ws/tmchote/tpd-mcu/tpd16.htm จีวรสูตร], พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [๕. กัสสปสังยุต]</ref>แล้วออกจากไปจนถึงทางแยกก็แยกกันเดินทาง ขณะที่แยกทางกันนั้นก็เกิดแผ่นดินไหว<ref name="อรรถกถาสูตรที่ ๔"/>

=== บรรลุอรหัตผล ===
หลังจากบวชได้ครบ 7 วัน เข้าวันที่ 8 พระมหากัสสปะก็พบพระพุทธเจ้าขณะประทับที่พหุปุตตเจดีย์ พระองค์ประทานโอวาทแก่ท่าน 3 ข้อ คือ<ref name="จีวรสูตร"/>
# มีหิริและโอตตัปปะอย่างแรงกล้าในภิกษุทั้งหลายผู้เป็นเถระ ผู้เป็นนวกะ ผู้เป็นมัชฌิมะ
# ฟังธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งประกอบด้วยกุศล จักกระทำธรรมนั้นทั้งหมดให้เป็นประโยชน์ มนสิการถึงธรรมนั้นทั้งหมด จักประมวลจิตมาทั้งหมด เงี่ยโสตสดับธรรม
# ไม่ละกายคตาสติที่ประกอบด้วยความยินดี
พระมหากัสสปะฟังแล้วก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ จากนั้นท่านนำผ้าสังฆาฏิของตนปูถวายพระพุทธเจ้าให้ทรงประทับนั่ง พระพุทธเจ้าจึงประทานผ้าป่านบังสุกุลให้ท่านใช้แทน ขณะนั้นแผ่นดินก็ไหวขึ้นเพราะไม่เคยมีมาก่อนที่พระพุทธเจ้าจะประทานจีวรที่ทรงใช้แล้วแก่พระสาวก<ref name="อรรถกถาสูตรที่ ๔"/> พระมหากัสสปะประทับใจมากด้วยระลึกว่าท่านเป็น "''บุตรของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่อก เกิดแต่พระโอษฐ์ เกิดแต่พระธรรม อันพระธรรมเนรมิตแล้ว เป็นธรรมทายาท ได้รับผ้าป่านบังสุกุลที่ใช้สอยแล้ว''"<ref name="จีวรสูตร"/>

== ปฐมสังคายนา ==
{{บทความหลัก|สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ}}
{{บทความหลัก|สังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ}}
[[ไฟล์:Sattapanni.jpg|thumb|left|[[ถ้ำสัตบรรณคูหา]] สถานที่ทำสังคายนาครั้งแรก ]]
[[ไฟล์:Sattapanni.jpg|thumb|left|[[ถ้ำสัตบรรณคูหา]] สถานที่ทำสังคายนาครั้งแรก]]
พระมหากัสสปเถระได้ทราบข่าวการ[[ปรินิพพาน]]ของพระพุทธเจ้า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ 7 วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางอยู่ ณ เมืองปาวาพร้อมด้วยหมู่ศิษย์จำนวนมาก เมื่อได้ทราบข่าวนั้น เหล่าศิษย์ของพระมหากัสสปะซึ่งยังเป็นปุถุชนอยู่ ได้ร้องไห้คร่ำครวญกัน ณ ที่นั้น จึงมีพระภิกษุบวชเมื่อแก่องค์หนึ่ง ชื่อว่า'''สุภัททะ''' ได้กล่าวขึ้นว่า "หยุดเถิด หยุดเถิด ท่านอย่าร่ำไรไปเลย พระสมณะนั้นพ้น (ปรินิพพาน) แล้ว เราจะทำอะไรก็ได้ตามพอใจ ไม่ต้องเกรงบัญชาใคร" พระมหากัสสปะได้ฟังเช่นนั้น คิดจะทำนิคคหกรรม (ทำโทษ) แต่เห็นว่ายังมิควรก่อน และดำริขึ้นว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง 7 วัน ก็มีผู้คิดที่จะทำให้เกิดความแปรปรวน หรือประพฤติปฏิบัติให้วิปริตไปจากพระธรรมวินัยเช่นนี้ จึงควรจะทำ[[สังคายนาในศาสนาพุทธ|สังคายนา]]และจะชักชวน[[พระอรหันต์]]เถระทั้งหลาย ซึ่งล้วนทันเห็นพระพุทธเจ้า ได้ฟังคำสอนของพระองค์มาโดยตรง เป็นผู้รู้คำสอนของพระพุทธเจ้า และได้อยู่ในหมู่สาวกที่เคยสนทนาตรวจสอบกันอยู่เสมอ รู้ว่าสิ่งใดที่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ให้มาประชุมกัน เพื่อช่วยกันแสดง ถ่ายทอด รวบรวม ประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วตกลงวางมติไว้ จากนั้นท่านจึงเดินทางไปยังเมือง[[กุสินารา]]เพื่อเป็นประธานในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ใช้เวลา 7 เดือน พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นผู้อุปถัมภ์
พระมหากัสสปเถระได้ทราบข่าวการ[[ปรินิพพาน]]ของพระพุทธเจ้า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ 7 วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางอยู่ ณ เมืองปาวาพร้อมด้วยหมู่ศิษย์จำนวนมาก เมื่อได้ทราบข่าวนั้น เหล่าศิษย์ของพระมหากัสสปะซึ่งยังเป็นปุถุชนอยู่ ได้ร้องไห้คร่ำครวญกัน ณ ที่นั้น จึงมีพระภิกษุบวชเมื่อแก่องค์หนึ่ง ชื่อว่า'''สุภัททะ''' ได้กล่าวขึ้นว่า "หยุดเถิด หยุดเถิด ท่านอย่าร่ำไรไปเลย พระสมณะนั้นพ้น (ปรินิพพาน) แล้ว เราจะทำอะไรก็ได้ตามพอใจ ไม่ต้องเกรงบัญชาใคร" พระมหากัสสปะได้ฟังเช่นนั้น คิดจะทำนิคคหกรรม (ทำโทษ) แต่เห็นว่ายังมิควรก่อน และดำริขึ้นว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง 7 วัน ก็มีผู้คิดที่จะทำให้เกิดความแปรปรวน หรือประพฤติปฏิบัติให้วิปริตไปจากพระธรรมวินัยเช่นนี้ จึงควรจะทำ[[สังคายนาในศาสนาพุทธ|สังคายนา]]และจะชักชวน[[พระอรหันต์]]เถระทั้งหลาย ซึ่งล้วนทันเห็นพระพุทธเจ้า ได้ฟังคำสอนของพระองค์มาโดยตรง เป็นผู้รู้คำสอนของพระพุทธเจ้า และได้อยู่ในหมู่สาวกที่เคยสนทนาตรวจสอบกันอยู่เสมอ รู้ว่าสิ่งใดที่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ให้มาประชุมกัน เพื่อช่วยกันแสดง ถ่ายทอด รวบรวม ประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วตกลงวางมติไว้ จากนั้นท่านจึงเดินทางไปยังเมือง[[กุสินารา]]เพื่อเป็นประธานในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ใช้เวลา 7 เดือน พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นผู้อุปถัมภ์


บรรทัด 50: บรรทัด 61:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
* โอม รัชเวทย์. '''พระมหากัสสปะ ''' ฉบับการ์ตูนสี่สี. พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ:เครืออมรินทร์,๒๕๕๒
{{รายการอ้างอิง}}

== ดูเพิ่ม ==
* [[พระวิปัสสีพุทธเจ้า]]
* [[เอตทัคคะ]]
* [[พระอสีติมหาสาวก]]
* [[สังคายนาในศาสนาพุทธ]]


; บรรรานุกรม
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* ''พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย''
* [http://www1.mod.go.th/heritage/religion/priest/priest4.html ตำนาน เรื่อง พระมหากัสสปะ กับ พระเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า]


{{เริ่มกล่อง}}
{{เริ่มกล่อง}}
บรรทัด 78: บรรทัด 84:
{{เรียงลำดับ|มหากัสสปะ}}
{{เรียงลำดับ|มหากัสสปะ}}
[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวอินเดีย]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวอินเดีย]]
[[หมวดหมู่:พระอรหันต์]]
[[หมวดหมู่:เอตทัคคะ]]
[[หมวดหมู่:เอตทัคคะ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:11, 10 พฤษภาคม 2558

พระมหากัสสปะ
จิตรกรรมภาพพระมหากัสสปะ ในถ้ำคีซิล (อายุราวศตวรรษที่ 6)
จิตรกรรมภาพพระมหากัสสปะ ในถ้ำคีซิล (อายุราวศตวรรษที่ 6)
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อเดิมปิปผลิ
สถานที่เกิดหมู่บ้านมหาติตถะ แคว้นมคธ
สถานที่บวชต้นไทรพหุปุตตนิโครธ ระหว่างเมืองราชคฤห์ กับนาลันทา
วิธีบวชโอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา
สถานที่บรรลุธรรมพหุปุตตเจดีย์
เอตทัคคะผู้มีธุดงค์มาก
อาจารย์พระโคตมพุทธเจ้า
สถานที่นิพพานเขากุกกุฏสัมปาต
ฐานะเดิม
บิดากปิลพราหมณ์
วรรณะเดิมพราหมณ์
สถานที่รำลึก
สถานที่ประตูถ้ำสัตตบรรณคูหาข้างภูเขาเวภาระ กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ สถานที่ทำสังคายนาครั้งแรก
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

พระมหากัสสปะ เป็นพระอรหันต์สาวกองค์หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า เป็นเอตทัคคะที่ทรงยกย่องและให้ถือเป็นแบบอย่างในด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์[1] ภายหลังที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ท่านได้เป็นประธานในการสังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธ

ประวัติ

ก่อนบวช

พระมหากัสสปะมีนามว่า ปิปผลิ เป็นบุตรของกปิลพราหมณ์ เกิดที่หมู่บ้านมหาติตถะ แคว้นมคธ เมื่ออายุเข้าย่างสู่ 20 ปี มารดาบิดาของท่านรบเร้าให้ท่านแต่งงาน ท่านปฏิเสธเพราะตั้งใจว่าเมื่อดูแลมารดาบิดาจนทั้งสองเสียชีวิตแล้วก็จะออกบวช แต่มารดาบิดาของท่านยังยืนยันให้ท่านแต่งงานเพื่อดำรงวงศ์ตระกูล ปิปผลิจึงจ้างช่างหล่อทองคำเป็นรูปหญิงสาว ประดับด้วยผ้านุ่งสีแดง ดอกไม้ และเครื่องประดับต่าง ๆ แล้วบอกมารดาว่าถ้าหาหญิงสาวลักษณะตามรูปปั้นดีได้จึงจะยอมแต่งงาน มารดาของท่านจึงให้พราหมณ์ ๘ คนนำรูปหล่อไปตามหาหญิงสาวที่มีลักษณะตามนั้น เมื่อได้พบนางภัททากาปิลานี จึงแจ้งให้กบิลพราหมณ์ทราบ ปิปผลิและภัททาต่างไม่อยากแต่งงานจึงแอบส่งจดหมายขอให้อีกฝ่ายหาคู่ครองใหม่ แต่คนถือจดหมายได้แปลงข้อความในจดหมาย ทั้งสองจึงได้แต่งงานกันในที่สุด[2]

ออกบวช

วันหนึ่ง ปิปผลิไปตรวจนาเห็นฝูงนกจิกกินไส้เดือน จึงถามบริวารว่าบาปของสัตว์พวกนั้นตกแก่ใคร บริวารว่าตกแก่ท่านปิปผลิ เขาสังเวชใจว่าถ้าอกุศลกรรมแบบนี้ตกแก่ท่านแล้ว ต่อให้เวียนว่ายตายเกิดสักพันชาติก็คงไม่พ้นทุกข์ กลับถึงบ้านแล้วจึงบอกภรรยาว่าจะออกบวช ภรรยาของท่านก็จะออกบวชเช่นกัน ทั้งสองปลงผมนุ่งห่มผ้ากาสายะ ตั้งใจออกบวชเพื่ออุทิศพระอรหันต์ในโลก[3]แล้วออกจากไปจนถึงทางแยกก็แยกกันเดินทาง ขณะที่แยกทางกันนั้นก็เกิดแผ่นดินไหว[2]

บรรลุอรหัตผล

หลังจากบวชได้ครบ 7 วัน เข้าวันที่ 8 พระมหากัสสปะก็พบพระพุทธเจ้าขณะประทับที่พหุปุตตเจดีย์ พระองค์ประทานโอวาทแก่ท่าน 3 ข้อ คือ[3]

  1. มีหิริและโอตตัปปะอย่างแรงกล้าในภิกษุทั้งหลายผู้เป็นเถระ ผู้เป็นนวกะ ผู้เป็นมัชฌิมะ
  2. ฟังธรรมอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งประกอบด้วยกุศล จักกระทำธรรมนั้นทั้งหมดให้เป็นประโยชน์ มนสิการถึงธรรมนั้นทั้งหมด จักประมวลจิตมาทั้งหมด เงี่ยโสตสดับธรรม
  3. ไม่ละกายคตาสติที่ประกอบด้วยความยินดี

พระมหากัสสปะฟังแล้วก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ จากนั้นท่านนำผ้าสังฆาฏิของตนปูถวายพระพุทธเจ้าให้ทรงประทับนั่ง พระพุทธเจ้าจึงประทานผ้าป่านบังสุกุลให้ท่านใช้แทน ขณะนั้นแผ่นดินก็ไหวขึ้นเพราะไม่เคยมีมาก่อนที่พระพุทธเจ้าจะประทานจีวรที่ทรงใช้แล้วแก่พระสาวก[2] พระมหากัสสปะประทับใจมากด้วยระลึกว่าท่านเป็น "บุตรของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่อก เกิดแต่พระโอษฐ์ เกิดแต่พระธรรม อันพระธรรมเนรมิตแล้ว เป็นธรรมทายาท ได้รับผ้าป่านบังสุกุลที่ใช้สอยแล้ว"[3]

ปฐมสังคายนา

ถ้ำสัตบรรณคูหา สถานที่ทำสังคายนาครั้งแรก

พระมหากัสสปเถระได้ทราบข่าวการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้วได้ 7 วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางอยู่ ณ เมืองปาวาพร้อมด้วยหมู่ศิษย์จำนวนมาก เมื่อได้ทราบข่าวนั้น เหล่าศิษย์ของพระมหากัสสปะซึ่งยังเป็นปุถุชนอยู่ ได้ร้องไห้คร่ำครวญกัน ณ ที่นั้น จึงมีพระภิกษุบวชเมื่อแก่องค์หนึ่ง ชื่อว่าสุภัททะ ได้กล่าวขึ้นว่า "หยุดเถิด หยุดเถิด ท่านอย่าร่ำไรไปเลย พระสมณะนั้นพ้น (ปรินิพพาน) แล้ว เราจะทำอะไรก็ได้ตามพอใจ ไม่ต้องเกรงบัญชาใคร" พระมหากัสสปะได้ฟังเช่นนั้น คิดจะทำนิคคหกรรม (ทำโทษ) แต่เห็นว่ายังมิควรก่อน และดำริขึ้นว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง 7 วัน ก็มีผู้คิดที่จะทำให้เกิดความแปรปรวน หรือประพฤติปฏิบัติให้วิปริตไปจากพระธรรมวินัยเช่นนี้ จึงควรจะทำสังคายนาและจะชักชวนพระอรหันต์เถระทั้งหลาย ซึ่งล้วนทันเห็นพระพุทธเจ้า ได้ฟังคำสอนของพระองค์มาโดยตรง เป็นผู้รู้คำสอนของพระพุทธเจ้า และได้อยู่ในหมู่สาวกที่เคยสนทนาตรวจสอบกันอยู่เสมอ รู้ว่าสิ่งใดที่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ให้มาประชุมกัน เพื่อช่วยกันแสดง ถ่ายทอด รวบรวม ประมวลคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แล้วตกลงวางมติไว้ จากนั้นท่านจึงเดินทางไปยังเมืองกุสินาราเพื่อเป็นประธานในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ใช้เวลา 7 เดือน พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นผู้อุปถัมภ์

การสังคายนาครั้งที่หนึ่งในศาสนาพุทธจึงได้จัดขึ้นที่ถ้ำสัตบรรณคูหา กรุงราชคฤห์ ตามคำปรารภของพระมหากัสสปะเถระ โดยมีพระเจ้าอชาตศัตรูเป็นองค์อุปถัมภ์ ใช้เวลาในการสังคายนารวบรวมพระธรรมวินัยอยู่ 7 เดือนจึงแล้วเสร็จ โดยในครั้งนั้น พระมหากัสสปะเถระเป็นประธานทำสังคายนา พระอานนท์เป็นองค์วิสัชชนาแสดงพระธรรม พระอุบาลีเป็นองค์วิสัชชนาพระวินัยปิฎก การสังคายนาครั้งนั้นนับเป็นต้นกำเนิดของพระไตรปิฎกภาษาบาลีที่ใช้ในนิกายเถรวาทในปัจจุบัน

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. ปฐมวรรค, พระสุตตัตนตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต ๑๔. เอตทัคควรรค ๑. ปฐมวรรค
  2. 2.0 2.1 2.2 อรรถกถาสูตรที่ ๔ ประวัติพระมหากัสสปเถระ, อรรถกถาอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอตทัคคบาลี วรรคที่ ๑
  3. 3.0 3.1 3.2 จีวรสูตร, พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค [๕. กัสสปสังยุต]
บรรรานุกรม
  • พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ก่อนหน้า พระมหากัสสปะ ถัดไป
ประธานการสังคายนาครั้งที่ 1
พระเรวตเถระ
ประธานการสังคายนาครั้งที่ 2