ฉาน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ระวังสับสนกับ รัฐฉาน
ฉาน | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อจีน | |||||||||||||
จีนตัวย่อ | 禅 | ||||||||||||
จีนตัวเต็ม | 禪 | ||||||||||||
| |||||||||||||
ชื่อญี่ปุ่น | |||||||||||||
คันจิ | 禅 | ||||||||||||
ฮิรางานะ | ぜん | ||||||||||||
| |||||||||||||
ชื่อเกาหลี | |||||||||||||
ฮันกึล | 선 | ||||||||||||
ฮันจา | 禪 | ||||||||||||
| |||||||||||||
ชื่อเวียดนาม | |||||||||||||
เวียดนาม | Thiền | ||||||||||||
ฮ้าน-โนม | 禪 | ||||||||||||
สันสกฤต name | |||||||||||||
สันสกฤต | ध्यान (ธฺยาน) |
ฉาน (จีน: 禪 จากภาษาสันสกฤต ธฺยาน[1]) เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายมหายาน เน้นการฝึกสมาธิด้วยการทำจิตให้ว่าง[2] จนเกิดการตื่นรู้โดยฉับพลัน
นิกายฉานกำเนิดขึ้นในประเทศจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 6 และแพร่หลายมากในสมัยราชวงศ์ถังและราชวงศ์ซ่ง[3] ต่อมาหลังสมัยราชวงศ์หยวนจึงผสมผสานกับนิกายสุขาวดี และแพร่หลายไปยังประเทศอื่น ๆ จนเป็นต้นกำเนิดของนิกายเถี่ยนในประเทศเวียดนาม นิกายซ็อนในประเทศเกาหลี และนิกายเซนในประเทศญี่ปุ่น[1]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 "Zen". Lexico. 2020. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2020. Check date values in:
|accessdate=
(help) - ↑ "Zen". Cambridge University Press. 2020. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2020. Check date values in:
|accessdate=
(help) - ↑ Hershock, Peter (2019), "Chan Buddhism", ใน Zalta, Edward N. (บ.ก.), The Stanford Encyclopedia of Philosophy (Spring 2019 ed.), Metaphysics Research Lab, Stanford University, สืบค้นเมื่อ 2020-01-17