กลุ่มภาษามอญ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กลุ่มภาษามอญ
ภูมิภาค:อินโดจีน
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
ออสโตรเอเชียติก
  • กลุ่มภาษามอญ
กลุ่มย่อย:
กลอตโตลอก:moni1258[1]
{{{mapalt}}}
  กลุ่มภาษามอญ

กลุ่มภาษามอญ (Monic languages) เป็นกลุ่มภาษาหนึ่งของตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก เป็นกลุ่มภาษาที่มีการใช้งานมาแต่ครั้งโบราณในเขตประเทศไทยและแถบพม่าตอนล่าง[2][3]

การจำแนกประเภท[แก้]

พอล ซิดเวลล์ (2009:114) เสนอแผนภูมิสำหรับกลุ่มภาษามอญ โดยรวมการจำแนกกลุ่มในอดีตจาก ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ (1984) และ เฌราร์ ดิฟโฟลธ (1984)[4][5][3]

  • มอญโบราณ / มอญดั้งเดิม

ภาษาดั้งเดิม[แก้]

ตัวอย่างชื่อสัตว์และพืชใน กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม, ญัฮกุรดั้งเดิม, และมอญดั้งเดิม (ดิฟโฟลธ 1984)[5]

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม[แก้]

สายพันธุ์ กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม ญัฮกุรดั้งเดิม มอญดั้งเดิม
กระแต *[c/s]naaʔ *ɕhna̱aʔ
เสือโคร่งอินโดจีน *klaaʔ *khla̱aʔ *kla̱ʔ
นากใหญ่ขนเรียบ, นากใหญ่ธรรมดา *phɛɛʔ *phɛ̱ɛʔ *phɛ̱ʔ
กระทิง *kndiiŋ *kənti̤iɲ *kəlɤ̱i̯ɲ
กวางป่า *tɓuŋ *thbu̱ŋ *ɓɒ̱ɨ̯ŋ
ละองละมั่ง *[r]maŋ *ləma̤ŋ *mɛ̤a̯ŋ
เก้งธรรมดา, เก้งหม้อ *pas *pa̱j̊ *pɔ̱h
เม่นใหญ่แผงคอยาว *lmliəŋ *ləmli̤aŋ *pəli̤ə̯ŋ
หมีควาย *kmu̱m *khmu̱m *[k]hmi̱m

สัตว์ปีก[แก้]

สายพันธุ์ กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม ญัฮกุรดั้งเดิม มอญดั้งเดิม
อีแก *klʔaak *kəlʔa̱ak *həɗa̱i̯c
นกตบยุงหางยาว *klwaaʔ *kəwa̱aʔ *kəwa̱ʔ
นกตบยุงหางยาว? *ʔ[m]blak *bla̱k *ʔəplɛ̤a̯k
อินทรีเหยี่ยว *liŋ-liəŋ *liŋ-li̤aŋ *kəni̤ə̯ŋ
ไก่ป่า *tjaaŋ *chja̱aŋ *ca̱i̯ɲ
นกแก้วโม่ง *kreeɲ *krə̱əɲ *krʌ̱i̯ɲ
นกคุ่ม *cgɯt *cəkɯ̤t *hək[i̤/ɯ̤]t
แร้งเทาหลังขาว? *t-[m]-maat *tə(m)ma̱at *[k]əma̱t
นกขมิ้นหัวดำ? *mit *mɯ̤t *mi̤t
นกเปล้าขาเหลือง *prgum *pərkṳm *həkə̤m
นกกาเหว่า *t[]wa(a)w *t()wa̱w *kəwa̱o̯
นกเขาพม่า *puur *pu̱ur *pɒ̱u̯

สัตว์อื่น ๆ[แก้]

สายพันธุ์ กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม ญัฮกุรดั้งเดิม มอญดั้งเดิม
แมลงสาบ *sdɛɛʔ *ɕətɛ̤ɛʔ *həte̤ʔ
ผึ้งหลวง *saaj *ɕa̱aj *sa̱i̯
ตะพาบสวน *dwiiʔ *[c/t]həwi̤iʔ *kwi̤ʔ
ปลาไหลนา *doŋ-nooŋ *kənto̤oŋ ~ *tṳŋ-to̤oŋ *hələ̤ɨ̯ŋ
ปลาช่อน *knlɔɔn *kənlu̱an *kəno̤n
ตะกวดใต้ *trkɔɔt *təku̱at *həko̱t

พืช[แก้]

สายพันธุ์ กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม ญัฮกุรดั้งเดิม มอญดั้งเดิม
ไผ่ป่า *ɟrlaaʔ *chəla̤aʔ *həlɛ̤ə̯ʔ
ยางน่อง *kɟiiʔ *kəci̤iʔ *kji̤ʔ
หญ้าคา *cwooʔ *chwo̱oʔ *khwɒ̱ɨ̯ʔ
สะบ้า *ɟnlɛɛʔ *khənlɛ̤ɛʔ *həne̤ʔ
หว้า *kriəŋ *kri̱aŋ *kri̱ə̯ŋ
ยางนา, ยางแดง *g[]jaaŋ *khəja̤aŋ *həja̤i̯ɲ
สีเสียดเปลือก *sit-siət *ɕit-ɕi̱at *kəsə̱t
เลียงฝ้าย *klwaan *kəlwa̱an *kəlwa̱an
มะกอกไทย *[k]ʔiil *[kh]əʔi̱il *ʔi̱
นิโครธ, โพ *ɟrəj *chrə̤j *sɔ̤e̯
มะขามป้อม *trluuj *təlu̱uj *kəlu̱i̯

นวัตกรรมคำศัพท์[แก้]

ตัวอย่างนวัตกรรมคำศัพท์กลุ่มภาษามอญ[4]

คำ ออสโตรเอเชียติกดั้งเดิม กลุ่มภาษามอญดั้งเดิม มอญเก่า ญัฮกุร
‘เข่า’ *psaɲ *ɟroːm chròːm
‘เงิน’ *swaːʔ *knuːj knuj khǝnúːj
‘ไก่’ *ʔiər *tjaːŋ tyaiŋ cháːŋ
‘หมา’ *cɔːʔ *clur kløw chúr

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Monic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. "มอญ - กลุ่ม ชาติพันธุ์ - ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร". ethnicity.sac.or.th.
  3. 3.0 3.1 คำยืมภาษาตระกูลมอญ-เขมรในภาษาไทยถิ่นเหนือ อารียา บุญลำ ลิขสิทธิ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  4. 4.0 4.1 Sidwell, Paul (2021). "Classification of MSEA Austroasiatic languages". The Languages and Linguistics of Mainland Southeast Asia. De Gruyter. pp. 179–206. doi:10.1515/9783110558142-011.
  5. 5.0 5.1 Diffloth, Gérard. 1984. The Dvaravati Old Mon languages and Nyah Kur. Monic Language Studies. Chulalongkorn University Printing House, Bangkok.

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]