สถานีสะพานควาย

พิกัด: 13°47′37.68″N 100°32′59.03″E / 13.7938000°N 100.5497306°E / 13.7938000; 100.5497306
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สะพานควาย
N7

Saphan Khwai
สถานีสะพานควาย
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°47′37.68″N 100°32′59.03″E / 13.7938000°N 100.5497306°E / 13.7938000; 100.5497306
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีN7
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 24 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25641,427,958
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
หมอชิต
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท อารีย์
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่
ชานชาลาของสถานีสะพานควาย

สถานีสะพานควาย (อังกฤษ: Saphan Khwai station; รหัส: N7) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอสสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธินบริเวณหน้าที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน ในพื้นที่เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้ง[แก้]

ถนนพหลโยธิน ห่างจากทางแยกสะพานควาย (จุดบรรจบกับถนนประดิพัทธ์และถนนสาลีรัฐวิภาค) ไปทางทิศเหนือ 400 เมตร ในพื้นที่แขวงพญาไทและแขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (อารีย์)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (หมอชิต)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, โรงพยาบาลพญาไท พหลโยธิน, วัดไผ่ตัน
บิ๊กซี สะพานควาย, ตลาดสดสะพานควาย
ที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน และพิพิธภัณฑ์ตราไปรษณียากรสามเสนใน

รูปแบบของสถานี[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา

สัญลักษณ์ของสถานี

ใช้สีส้มตกแต่งรั้วและเสาบริเวณชานชาลา ป้ายทางเข้าและทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีฝั่งพหลโยธินใต้

ทางเข้า-ออก[แก้]

  • 1 ตลาดสะพานควาย, ถนนประดิพัทธ์, ที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน, ป้ายรถประจำทางสะพานควายไปหมอชิต (บันไดเลื่อน,ลิฟต์)
  • 2 บิ๊กซี สะพานควาย, โรงพยาบาลพญาไท พหลโยธิน, ถนนสุทธิสารวินิจฉัย, โรงพยาบาลวิมุต, ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่, ป้ายรถประจำทางสะพานควายไปอารีย์
  • 3 วัดไผ่ตัน, ป้ายรถประจำทางวัดไผ่ตันไปหมอชิต, ที่ทำการไปรษณีย์สามเสนใน, พิพิธภัณฑ์ไปรษณีย์สามเสนใน
  • 4 ป้ายรถประจำทางวัดไผ่ตันไปอารีย์, บริษัท แสงชัยมิเตอร์ จำกัด, ไอดีโอมิกซ์ พหลโยธิน คอนโดมิเนียม

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 3 หน้าเซเว่นอีเลฟเว่น

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.16 23.47
E15 สำโรง 00.01
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.55 00.14
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.27

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

ถนนพหลโยธิน รถขสมก. สาย 3 26 34 39 59 63 77 502 503 509 510 A2 รถเอกชน สาย 8 28 34 39 44 77 90 524

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
3 8 (กปด.18) รถโดยสารประจำทาง อู่กำแพงเพชร คลองสาน รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
3 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
26 2 (กปด.12) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
26 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
34 1 (กปด.31) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
39 1 (กปด.21) รถโดยสารประจำทาง ตลาดไท รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
1-8 (59) 1 (กปด.31) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-8 (59) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
63 7 (กปด.27) MRT พระนั่งเกล้า รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
63 รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
77 4 (กปด.24) เซ็นทรัลพระราม 3 รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
77 รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
502 2 (กปด.12) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
503 1 (กปด.31) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
509 6 (กปด.26) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
1-19 (510) Handicapped/disabled access 1 (กปด.21) ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้ก๊าซธรรมชาติ)
A2 Handicapped/disabled access 1 (กปด.11) ท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานดอนเมือง

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
8 (2-38) Handicapped/disabled access แฮปปี้แลนด์ เรือข้ามฟาก สะพานพุทธ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
28 (4-38) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) ม.ราชภัฏจันทรเกษม บจก.สมาร์ทบัส
ไทยสมายล์บัส
34 (1-3) Handicapped/disabled access บางเขน การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5) Handicapped/disabled access รังสิต รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.หลีกภัยขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)
44 (2-42) Handicapped/disabled access เคหะคลองจั่น เรือข้ามฟาก ท่าเตียน บจก.ไทยสมายล์บัส
77 (3-45) Handicapped/disabled access เซ็นทรัลพระราม 3 รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
90 (1-27) ปทุมธานี BTS หมอชิต รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า บจก.บัส 90
(ในเครือกิตติสุนทร)
มีรถให้บริการน้อย
524 (1-23) Handicapped/disabled access หลักสี่ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.บางกอกยูเนี่ยนเซอร์วิส 524
(เครือไทยสมายล์บัส)
2-17 Handicapped/disabled access การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟบางซื่อ ม.เกษตรศาสตร์ บจก.ไทยสมายล์บัส เส้นทางวิ่งเป็นวงกลม
มีรถให้บริการน้อย
2-34 Handicapped/disabled access การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟสามเสน ดินแดง
ถนนพหลโยธิน
สายที่ ต้นทาง ปลายทาง หมายเหตุ
รถเอกชนร่วมบริการ
8 แฮปปี้แลนด์ สะพานพุทธ เฉพาะรถธรรมดา
8 เคหะร่มเกล้า สะพานพุทธ เฉพาะรถปรับอากาศ
27 มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เส้นทางผ่านถนนลาดพร้าว-เสรีไทย

สถานที่สำคัญใกล้เคียง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.