สถานีพระโขนง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระโขนง
E8

Phra Khanong
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°42′54.70″N 100°35′28.62″E / 13.7151944°N 100.5912833°E / 13.7151944; 100.5912833พิกัดภูมิศาสตร์: 13°42′54.70″N 100°35′28.62″E / 13.7151944°N 100.5912833°E / 13.7151944; 100.5912833
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE8
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 24 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25641,804,128
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
เอกมัย
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท อ่อนนุช
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง
แผนที่
ชานชาลาสถานี

สถานีพระโขนง (อังกฤษ: Phra Khanong station; รหัส: E8) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทบริเวณย่านพระโขนง ในพื้นที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้ง[แก้]

ด้านทิศตะวันตกของทางแยกพระโขนง [จุดบรรจบระหว่างถนนสุขุมวิท ถนนพระรามที่ 4 และถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์)] ระหว่างซอยสุขุมวิท 44/1–46 กับซอยสุขุมวิท 67–69 ในพื้นที่แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา และแขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

สถานีพระโขนงเป็นสถานีที่อยู่ใกล้ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) ซึ่งเป็นเส้นทางต่อเนื่องกับถนนรามคำแหง จึงสามารถเชื่อมต่อรถประจำทางไปสู่ย่านคลองตัน มหาวิทยาลัยรามคำแหง และบางกะปิ ซึ่งเป็นย่านการค้าและที่พักอาศัยที่สำคัญของกรุงเทพมหานครด้านตะวันออกและยังสามารถต่อเส้นทางไปยังสถานีรามคำแหง ของโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้ที่บริเวณป้ายหยุดรถรามคำแหง (หรือป้ายหยุดรถสุขุมวิท 71 เดิม) ได้อีกด้วย

แผนผังของสถานี[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (อ่อนนุช)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (เอกมัย)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, อาคารไทซิน, ที่ทำการไปรษณีย์พระโขนง
โรงเรียนศรีวิกรม์ โรงเรียนศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ และโรงเรียนศรีวิกรม์คอมพิวเตอร์และภาษา

รูปแบบของสถานี[แก้]

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา

สัญลักษณ์ของสถานี[แก้]

ใช้สีเขียวตกแต่งเสาและรั้วบนชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายทางเข้า และบริเวณทางขึ้นสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีด้านตะวันออก

ทางเข้า-ออก[แก้]

  • 1 โรงแรมจัสมิน รีสอร์ท แอนด์ ปาร์ค โฮเทล, อาคารไทซิน
  • 2 ริทึ่ม สุขุมวิท 44/1, ซอยสุขุมวิท 44/1 (พิชัยสวัสดิ์), ป้ายรถประจำทางไปเอกมัย (ลิฟต์)
  • 3 ซอยสุขุมวิท 69 (สาลีนิมิตร), ที่ทำการไปรษณีย์พระโขนง, เวลท์ส เรสซิเดนซ์, ป้ายรถประจำทางไปอ่อนนุช (บันไดเลื่อน)
  • 4 ถนนพระรามที่ 4, อีเกิ้ล สโตร์ สุขุมวิท-พระราม 4, ซอยสุขุมวิท 46 (ภูมิจิตร)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 บริเวณหน้าปากซอยสุขุมวิท 44/1 และทางออก 4 หน้าอีเกิ้ล สโตร์ สุขุมวิท-พระราม 4

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[1]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.44 00.16
E15 สำโรง 00.29
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.28 23.46
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.01

จุดเชื่อมต่อการเดินทางในอนาคต[แก้]

รถไฟฟ้าสายสีเทา เชื่อมต่อที่ สถานีทองหล่อ (โครงการ)

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

สีเขียว : เขตการเดินรถที่ 2
สีแดง : เขตการเดินรถที่ 3

รถเอกชน

สีกรมท่า : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

ถนนสุขุมวิท[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย/อู่ช้างเอราวัณ สำนักงานที่ดินกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

ขสมก. มีรถให้บริการตลอดคืน
อู่เมกาบางนา บีทีเอสอุดมสุข/ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
23 (1) เทเวศร์/ประตูนํ้า
รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย/อู่ช้างเอราวัณ เทเวศร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
25 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่แพรกษาบ่อดิน ท่าช้าง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

มีรถให้บริการทางด่วน
มีรถให้บริการตลอดคืน
71 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม วัดธาตุทอง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง 1.วิ่งเฉพาะฝั่งขาไปเอกมัย
501 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

508 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ ท่าราชวรดิษฐ์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) มีรถให้บริการทางด่วน
511 Handicapped/disabled access (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส ส่วนใหญ่หมดระยะแยกบางนา

38 (3-8) Handicapped/disabled access

รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

48 (3-11) Handicapped/disabled access

รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) วัดโพธิ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

71

ตลาดปัฐวิกรณ์ วัดธาตุทอง รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.บ้านโป่งบัสบอดี้
บจก.รูท 45
บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.สามัคคีบัส
บจก.วินวินเอ็นจีวี
บจก.มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด

71 (1-39) Handicapped/disabled access

สวนสยาม คลองเตย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
98 อุดมสุข อโศก รถโดยสารประจำทางสีครีม-น้ำเงิน บริษัท สหศรีสุพรรณยานยนต์ จำกัด

133 (3-15) Handicapped/disabled access

เคหะบางพลี บีทีเอสเอกมัย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สันติมิตรขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)

3-44 Handicapped/disabled access

ท่าเรือคลองเตย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

ถนนพระรามที่ 4[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
22 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่สาธุประดิษฐ์ แฮปปี้แลนด์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-นํ้าเงิน ขสมก.
45 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่ปู่เจ้าสมิงพราย ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง มีรถให้บริการทางด่วน (ให้บริการเฉพาะชั่วโมงเร่งด่วน)
71 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม วัดธาตุทอง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง 1.วิ่งเฉพาะฝั่งขาไปเอกมัย
519 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม เซ็นทรัลพระราม 3 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
25 (3-6) Handicapped/disabled access โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส 1.ส่วนใหญ่หมดระยะแยกบางนา
2.วิ่งเฉพาะฝั่งขาไปเอกมัย
46 (3-10) รถโดยสารประจำทาง อู่รามคำแหง 2 ท่านํ้าสี่พระยา รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีส้ม บจก.สิทธิชาญชัย

46 (3-10)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

71

ตลาดปัฐวิกรณ์ วัดธาตุทอง รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กสีส้ม บจก.บ้านโป่งบัสบอดี้
บจก.รูท 45
บจก.ฉมาพันธ์การเดินรถ
บจก.สามัคคีบัส
บจก.วินวินเอ็นจีวี
บจก.มินิบัสไทยสายสิบเอ็ด
1.วิ่งเฉพาะฝั่งขาไปเอกมัย

115 (1-45) Handicapped/disabled access

สวนสยาม บางรัก รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
1.วิ่งเฉพาะฝั่งขาไปเอกมัย

133 (3-15) Handicapped/disabled access

เคหะบางพลี บีทีเอสเอกมัย รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สันติมิตรขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)
1.วิ่งเฉพาะฝั่งขาไปเอกมัย
507 (3-13) Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (สายใต้ใหม่) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
3-32 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) สวนสยาม รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
ถนนสุขุมวิท
  • รถขสมก. สาย รถขสมก. สาย 2 23 25 71 501 508 51
  • รถเอกชน สาย 38 40 48 71 98 133 มินิบัส สาย 71(จอดเฉพาะขาไปอ่อนนุช)
  • รถกะป๊อ บีทีเอสพระโขนง - ท่าเรือคลองตัน [2]

สถานที่สำคัญใกล้เคียง[แก้]

  • ตลาดพระโขนง
  • ที่ทำการไปรษณีย์พระโขนง
  • สมาคมอัสสัมชัญ
  • โรงพยาบาลกล้วยน้ำไท
  • สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลประจำประเทศไทย
  • สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรียประจำประเทศไทย
  • สุเหร่าบางมะเขือ
  • โรงเรียนพระแม่มารีพระโขนง
  • ซัมเมอร์ ฮิลล์ และซัมเมอร์ พอยต์
  • ดับเบิลยู ดิสทริค

อาคารสำนักงาน[แก้]

  • อาคารไทซิน
  • อาคารสหไทย
  • อาคารซัมเมอร์ฮับ ออฟฟิศเซส

อ้างอิง[แก้]

  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.
  2. "This is it เป็นอยู่คือ "พระโขนง" ดินแดนแห่งไลฟ์สไตล์สุดฮิปที่ใครๆ ก็หลงรัก". Estopolis.