สถานีรามอินทรา กม.6

พิกัด: 13°50′42″N 100°39′1″E / 13.84500°N 100.65028°E / 13.84500; 100.65028
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รามอินทรา กม.6
PK22

Ram Inthra Kor Mor 6
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนรามอินทรา เขตคันนายาว และ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°50′42″N 100°39′1″E / 13.84500°N 100.65028°E / 13.84500; 100.65028
เจ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ผู้ให้บริการนอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล (เอ็นบีเอ็ม)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีPK22
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ7 มกราคม พ.ศ. 2567 (0 ปี)
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้ามหานคร สถานีต่อไป
วัชรพล สายสีชมพู คู้บอน
มุ่งหน้า มีนบุรี
ที่ตั้ง
แผนที่

สถานีรามอินทรา กม.6 (อังกฤษ: Ram Inthra Kor Mor 6 station; รหัส: PK22) เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานครแบบยกระดับในเส้นทางสายสีชมพู โดยยกระดับเหนือถนนรามอินทราในพื้นที่คาบเกี่ยวระหว่างเขตคันนายาวกับเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้ง[แก้]

สถานีรามอินทรา กม.6 ตั้งอยู่บนถนนรามอินทรา บริเวณปากซอยรามอินทรา 42 และคลองบางชวดด้วน ทางทิศตะวันออกของทางแยกนวลจันทร์ ในพื้นที่แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว และแขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร

รายละเอียด[แก้]

สีสัญลักษณ์[แก้]

ใช้สีชมพูตกแต่งสถานีเพื่อสื่อให้เห็นว่าเป็นสถานีของโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู

รูปแบบ[แก้]

เป็นสถานียกระดับ มีชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชั้นชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง

ทางเข้า–ออก[แก้]

ประกอบด้วยทางขึ้น–ลงปกติ ได้แก่

  • 1 ซอยหมู่บ้านนีโอ คลาสสิคโฮม
  • 2 สถานีบริการน้ำมันบางจาก (เอสโซ่) รามอินทรา กม.6
  • 3 ซอยรามอินทรา 42/1, โรงพยาบาลสัตว์ยูเว็ท รามอินทรา
  • 4 ซอยรามอินทรา 40 (นวลจันทร์), ทางแยกนวลจันทร์

แผนผัง[แก้]

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสีชมพู มุ่งหน้า มีนบุรี
ชานชาลา 2 สายสีชมพู มุ่งหน้า ศูนย์ราชการนนทบุรี
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1–4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
G
ระดับถนน
ป้ายรถประจำทาง, ถนนรามอินทรา

เวลาให้บริการ[แก้]

ปลายทาง เชื่อมต่อ ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสีชมพู[1][2]
ชานชาลาที่ 1
PK30 มีนบุรี เต็มระยะ 05.47 00.49
ชานชาลาที่ 2
PK01 ศูนย์ราชการนนทบุรี เต็มระยะ 05.38 00.18
PK01 สายสีม่วง (คลองบางไผ่) 22.48
PK01 สายสีม่วง (เตาปูน) 22.18
PK14 สายสีแดงเข้ม 23.38
PK16 สายสุขุมวิท (คูคต) 00.08
PK16 สายสุขุมวิท (เคหะฯ) 23.08

สถานที่ใกล้เคียง[แก้]

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

ถนนรามอินทรา[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ[แก้]

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
26 (1-36) (2) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก.
เอกมัย 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง ให้บริการเฉพาะตอนเช้าและเย็น
95 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่บางเขน รถโดยสารประจำทาง บางกะปิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
รถโดยสารประจำทาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง
95ก. (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต บางกะปิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

156 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่เลียบด่วนรามอินทรา ลาดพร้าว 71 – นวมินทร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
520 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี ตลาดไท 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) มีรถให้บริการน้อย

รถเอกชน[แก้]

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
26A (1-77) Handicapped/disabled access คลองเตย มีนบุรี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
150 (1-15) Handicapped/disabled access ปากเกร็ด มีนบุรี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
150 (1-15) รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
(1-64) Handicapped/disabled access ซาฟารีเวิลด์ นวลจันทร์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
554 (S2) Handicapped/disabled access รังสิต ท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)

อ้างอิง[แก้]

  1. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู". 2023-12-28.
  2. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพูขบวนสุดท้าย - ข่าวรถไฟ". 2023-12-28.