โอม
หน้าตา
โอม (ไอเอเอสที: Oṃ, เทวนาครี: ॐ, กันนาดา: ಓಂ, ทมิฬ: ௐ, มลยาฬัม: ഓം, เตลูกู: ఓం) เป็นหนึ่งในประติมานวิทยาที่พบในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน ตั้งแต่ยุคโบราณและยุคเก่า ในงานเขียน วิหาร[1][2] โอมเป็นสัญลักษณ์ที่มีความหมายในเชิงจิตวิญญาณในทุกศาสนาอินเดีย (ฮินดู พุทธ ไชนะ และ ซิกข์) ส่วนความหมายเฉพาะและความหมายแฝงแตกต่างกันไปตามคำสอนและศาสนา ความเชื่อของแต่ละกลุ่ม
,พยางค์ “โอม” บางครั้งก็ถูกเรียกว่า “องการ” (ओङ्कार, oṅkāra), “อณการ” (ओंकार, oṃkāra) และ “ปรณวะ” (प्रणव, praṇava)[3][4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ T. A. Gopinatha Rao (1993), Elements of Hindu Iconography, Volume 2, Motilal Banarsidass, ISBN 978-8120808775, p. 248
- ↑ Sehdev Kumar (2001), A Thousand Petalled Lotus: Jain Temples of Rajasthan, ISBN 978-8170173489, p. 5
- ↑ Nityanand Misra (25 July 2018). The Om Mala: Meanings of the Mystic Sound. Bloomsbury Publishing. pp. 104–. ISBN 978-93-87471-85-6.
- ↑ "OM". Sanskrit English Dictionary, University of Köln, Germany