เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 7
เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 7 เป็นกิจกรรมที่จัดโดยสมาชิกเว็บไซต์ พันทิปดอตคอม โต๊ะเฉลิมไทย เพื่อยกย่อง เชิดชู ผลงานดีเด่น ทางด้านภาพยนตร์ ตลอดปี พ.ศ. 2552 โดยได้ประกาศรายชื่อผู้เข้าชิงในสาขาต่าง ๆ[1] ในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553 ส่วนการประกาศผลรางวัล ผ่านหน้ากระทู้เฉลิมไทยนั้น มีขึ้นในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2553
ผลรางวัลเฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 7
[แก้]:: สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
:: สาขาภาพยนตร์ไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
:: สาขางานกำกับภาพยนตร์แห่งปี (สำหรับภาพยนตร์ต่างประเทศ)
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- District 9 (Neill Blomkamp)
- Inglourious Basterds (Quentin Tarantino)
- Slumdog Millionaire (Danny Boyle)
- The Wrestler (Darren Aronofsky)
:: สาขางานกำกับภาพยนตร์แห่งปี (สำหรับภาพยนตร์ไทย)
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- ความจำสั้น แต่รักฉันยาว (ยงยุทธ ทองกองทุน)
- ณ ขณะรัก (ณัฐพล วงศ์ตรีเนตรกุล)
- นางไม้ (เป็นเอก รัตนเรือง)
- ห้าแพร่ง (ปวีณ ภูริจิตปัญญา, ทรงยศ สุขมากอนันต์, ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ, บรรจง ปิสัญธนะกูล, วิสูตร พูลวรลักษณ์)
:: สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Sean Penn จาก Milk
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Brad Pitt จาก The Curious Case of Benjamin Button
- Leonardo DiCaprio จาก Revolutionary Road
- Mickey Rourke จาก The Wrestler
- Sharlto Copley จาก District 9
:: สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Kate Winslet จาก Revolutionary Road
- Meryl Streep จาก Doubt
- Meryl Streep จาก Julie & Julia
- Sally Hawkins จาก Happy-Go-Lucky
:: สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- ชาคริต แย้มนาม จาก ณ ขณะรัก
- ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ จาก รถไฟฟ้า..มาหานะเธอ
- ปรเมศร์ น้อยอ่ำ จาก สามชุก: ขอเพียงโอกาส อีกสักครั้ง
- ภูพิงค์ พังสอาด จาก ฝันโคตรโคตร
:: สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- ชุติมา ทีปะนาถ จาก หนีตามกาลิเลโอ
- รัชวิน วงศ์วิริยะ จาก รักที่รอคอย
- วนิดา เติมธนาภรณ์ จาก นางไม้
- สินิทธา บุญยศักดิ์ จาก ณ ขณะรัก
:: สาขานักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Christoph Waltz จาก Inglourious Basterds
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Eddie Marsan จาก Happy-Go-Lucky
- Josh Brolin จาก Milk
- Michael Shannon จาก Revolutionary Road
- Philip Seymour Hoffman จาก Doubt
:: สาขานักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- กฤษณ์ เศรษฐธำรงค์ จาก ความจำสั้น แต่รักฉันยาว
- จิรายุ ละอองมณี จาก ห้าแพร่ง
- นภัสกร มิตรเอม จาก ณ ขณะรัก
- สุเชาว์ พงษ์วิไล จาก ณ ขณะรัก
:: สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Marisa Tomei จาก The Wrestler
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Amy Adams จาก Doubt
- Diane Kruger จาก Inglourious Basterds
- Taraji P. Henson จาก The Curious Case of Benjamin Button
- Viola Davis จาก Doubt
:: สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- จรินทร์พร จุนเกียรติ จาก หนีตามกาลิเลโอ
- เจสสิกา ภาสะพันธุ์ จาก เฉือน
- เดือนเต็ม สาลิตุล จาก ณ ขณะรัก
- ศันสนีย์ วัฒนานุกูล จาก ความจำสั้น แต่รักฉันยาว
:: สาขาบทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Slumdog Millionaire โดย Simon Beaufoy
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- District 9 โดย Neill Blomkamp, Terri Tatchell
- Doubt โดย John Patrick Shanley
- Inglourious Basterds โดย Quentin Tarantino
- Up โดย Bob Peterson, Pete Docter (เรื่องโดย Bob Peterson, Pete Docter, Thomas McCarthy)
:: สาขาบทภาพยนตร์ไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- เฉือน โดย ก้องเกียรติ โขมศิริ (เรื่องโดย วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง)
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- ความจำสั้น แต่รักฉันยาว โดย อมราพร แผ่นดินทอง, นนตรา คุ้มวงศ์, วรรณฤดี พงษ์สิทธิศักดิ์
- ณ ขณะรัก โดย ณัฐพล วงศ์ตรีเนตรกุล
- นางไม้ โดย เป็นเอก รัตนเรือง
- ฝันโคตรโคตร โดย ภูพิงค์ พังสอาด
:: สาขาภาพยนตร์แอนิเมชันแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
:: สาขาภาพยนตร์ฉายจำกัดโรงแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Departures
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Happy-Go-Lucky
- Let the Right One In
- Milk
- The Wrestler
:: สาขาภาพยนตร์นอกรอบแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- I Killed My Mother
( เข้าฉายใน Bangkok International Film Festival )
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- 35 Shots of Rum
( เข้าฉายใน Bangkok International Film Festival )
- เจ้านกกระจอก (Mundane History)
( เข้าฉายใน World Film Festival of Bangkok )
- Antichrist
( เข้าฉายใน Bangkok International Film Festival )
- Dogtooth
( เข้าฉายใน Bangkok International Film Festival )
- A Prophet
( เข้าฉายใน Bangkok International Film Festival )
:: สาขาการกำกับภาพในภาพยนตร์แห่งปี (กำกับภาพ/ถ่ายภาพ)
[แก้]ผู้ชนะ
- Avatar โดย Mauro Fiore
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- The Curious Case of Benjamin Button โดย Claudio Miranda
- Harry Potter and the Half-Blood Prince โดย Bruno Delbonnel
- Inglourious Basterds โดย Robert Richardson
- Let the Right One In โดย Hoyte Van Hoytema
- Slumdog Millionaire โดย Anthony Dod Mantle
:: การลำดับภาพในภาพยนตร์แห่งปี (ลำดับภาพ/ตัดต่อภาพ)
[แก้]ผู้ชนะ
- Slumdog Millionaire โดย Chris Dickens
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Avatar โดย Stephen E. Rivkin, John Refoua และ James Cameron
- The Curious Case of Benjamin Button โดย Kirk Baxter และ Angus Wall
- District 9 โดย Julian Clarke
- Inglourious Basterds โดย Sally Menke
:: สาขางานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี (กำกับศิลป์/เครื่องแต่งกาย/แต่งหน้า)
[แก้]ผู้ชนะ
ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Rick Carter, Robert Stromberg, Todd Cherniawsky, Kevin Ishioka และ Kim Sinclair ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Mayes C. Rubeo และ Deborah Lynn Scott แต่งหน้าและทำผม โดย Roxane Griffin และ Tegan Taylor
ผู้เข้าชิงอื่นๆ
ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Donald Graham Burt, Tom Reta และ Victor J. Zolfo ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Jacqueline West แต่งหน้าและทำผม โดย Jean Ann Black, Colleen Callaghan และ Greg Cannom
- A Frozen Flower
ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Kim Gi-cheol ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Lee Hye-soon และ Jung Jung-eun
- Inglourious Basterds
ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย David Wasco, Sebastian T. Krawinkel และ Sandy Reynolds-Wasco ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Anna B. Sheppard แต่งหน้าและทำผม โดย Heba Thorisdottir, Emanuel Millar, Jake Garber และ Gregory Nicotero
ออกแบบงานสร้างและกำกับศิลป์ โดย Scott Chambliss, Keith P. Cunningham และ Karen Manthey ออกแบบเครื่องแต่งกาย โดย Michael Kaplan แต่งหน้าและทำผม โดย Barney Burman, Mindy Hall, Joel Harlow และ Terry Baliel
:: สาขางานเสียงในภาพยนตร์แห่งปี (บันทึกเสียง/ตัดต่อเสียง)
[แก้]ผู้ชนะ
- Avatar โดย Christopher Boyes, Gary Summers, Andy Nelson, Tony Johnson และ Gwendolyn Yates Whittle
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- 2012 โดย Paul N.J. Ottosson, Michael McGee, Rick Kline, Jeffrey J. Haboush และ Michael Keller
- Slumdog Millionaire โดย Ian Tapp, Richard Pryke, Resul Pookutty, Tom Sayers และ Glenn Freemantle
- Star Trek โดย Anna Behlmer, Andy Nelson, Peter J. Devlin, Mark P. Stoeckinger และ Alan Rankin
- Transformers: Revenge of the Fallen โดย Greg P. Russell, Gary Summers, Geoffrey Patterson, Ethan Van der Ryn และ Erik Aadahl
:: สาขาดนตรีประกอบภาพยนตร์แห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Up โดย Michael Giacchino
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- Avatar โดย James Horner
- The Curious Case of Benjamin Button โดย Alexandre Desplat
- Milk โดย Danny Elfman
- Slumdog Millionaire โดย A.R. Rahman
:: สาขาเพลงประกอบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- "Jai Ho" จาก Slumdog Millionaire (ประพันธ์ทำนองโดย A.R. Rahman; แต่งคำร้องโดย Gulzar)
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- "I See You" จาก Avatar (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย James Horner, Kuk Harrell และ Simon Franglen)
- "Okuribito (おくりびと)" จาก Departures (ประพันธ์ทำนองโดย Joe Hisaishi; แต่งคำร้องโดย Ai)
- "Ponyo" จาก Ponyo on the Cliff by the Sea (ประพันธ์ทำนองโดย Joe Hisaishi; แต่งคำร้องโดย Katsuya Kondo และ Hayao Miyazaki)
- "The Wrestler" จาก The Wrestler (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย Bruce Springsteen)
:: สาขาเพลงประกอบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- "จะได้ไม่ลืมกัน" จาก ความจำสั้น แต่รักฉันยาว (ประพันธ์ทำนองโดย วัฒนกร ศรีวัง; แต่งคำร้องโดย กัลยารัตน์ วารณะวัฒน์)
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- "กอดฉันไว้" จาก สามชุก: ขอเพียงโอกาส อีกสักครั้ง (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย ปิติ ลิ้มเจริญ; เรียบเรียงใหม่โดย พาราด็อกซ์)
- "จำทำไม" จาก รูมเมท เพื่อนร่วมห้อง...ต้องแอบรัก? (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย รัฐ พิฆาตไพรี)
- "ฉันดีใจที่มีเธอ" จาก ความสุขของกะทิ (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย บอย โกสิยพงษ์)
- "เวลาตาย" จาก ฝันโคตรโคตร (ประพันธ์ทำนองและแต่งคำร้องโดย ภูพิงค์ พังสอาด)
:: สาขาเทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี
[แก้]ผู้ชนะ
- Avatar โดย Joe Letteri, Stephen Rosenbaum, Richard Baneham และ Andy Jones
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
- 2012 โดย Volker Engel, Marc Weigert และ Mike V้zina
- The Curious Case of Benjamin Button โดย Eric Barba, Steve Preeg, Burt Dalton และ Craig Barron
- District 9 โดย Dan Kaufman, Peter Muyzers, Robert Habros และ Matt Aitken
- Star Trek โดย Roger Guyett, Russell Earl, Paul Kavanagh และ Burt Dalton
สรุปรายชื่อผู้เข้าชิง
[แก้]ภาพยนตร์ 41 เรื่องดังต่อไปนี้ ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 7
|
|
สรุปรายชื่อผู้ชนะ
[แก้]ภาพยนตร์ 13 เรื่องดังต่อไปนี้ ได้รับการลงคะแนนเป็นผู้ชนะ เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 7
- ชนะใน 6 สาขา
- (ภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, งานกำกับภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, งานกำกับภาพในภาพยนตร์แห่งปี, งานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี, งานเสียงในภาพยนตร์แห่งปี, เทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี)
- ชนะใน 5 สาขา
- (ภาพยนตร์ไทยแห่งปี, งานกำกับภาพยนตร์ไทยแห่งปี, บทภาพยนตร์ไทยแห่งปี, นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, นักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี)
- ชนะใน 3 สาขา
- (บทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, งานลำดับภาพในภาพยนตร์แห่งปี, เพลงประกอบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)
- ชนะใน 2 สาขา
- (ภาพยนตร์แอนิเมชั่นแห่งปี, ดนตรีประกอบภาพยนตร์แห่งปี)
- ชนะไปสาขาเดียว
- (เพลงประกอบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี)
- (นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี)
- (นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ไทยแห่งปี)
- Depatures
- (ภาพยนตร์ยอดเยี่ยมประเภทฉายแบบจำกัดโรง)
- I Killed My Mother
- (ภาพยนตร์ "นอกรอบ" แห่งปี)
- Inglourious Basterds
- (นักแสดงชายในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)
- Milk
- (นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)
- The Reader
- (นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)
- The Wrestler
- (นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 7: ประกาศรายชื่อผู้เข้าชิง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-02-03. สืบค้นเมื่อ 2010-01-31.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ พันทิปดอตคอม โต๊ะเฉลิมไทย pantip.com/cafe/chalermthai