เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 3

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 3 เป็นกิจกรรมที่จัดโดยสมาชิกเว็บไซต์ พันทิปดอตคอม โต๊ะเฉลิมไทย เพื่อยกย่อง เชิดชู ผลงานดีเด่น ทางด้านภาพยนตร์ เพลง สื่อโทรทัศน์และวิทยุ ตลอดปี พ.ศ. 2548

ในการเปลี่ยนแปลงของ เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 3 ได้เกิดขึ้นในส่วนของสาขาด้านภาพยนตร์ เป็นส่วนใหญ่ โดยมีการแยกในสาขาผู้กำกับภาพยนตร์ เป็น 2 สาขาออกไป คือ ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย และผู้กำกับภาพยนตร์ต่างประเทศ และสาขานักแสดงนำ ทั้งนักแสดงชายและนักแสดงหญิงออกไปเป็น นักแสดงที่มีผลงานจากภาพยนตร์ไทย และนักแสดงที่มีผลงานจากภาพยนตร์ต่างประเทศ

นอกจากนี้ ยังมีการแบ่งแยกสาขาทางเทคนิคการสร้างภาพยนตร์ ออกเป็นสาขาย่อย 3 สาขา นั่นคือ สาขางานสร้าง เพื่อการพิจารณาความดีความชอบในด้านการถ่ายภาพ ลำดับภาพ รวมไปถึงงานเสียง ทั้งการบันทึกเสียง และการตัดต่อเสียง

และยังแบ่งสาขาทางเทคนิค ไปเป็น สาขางานศิลป์ เพื่อการพิจารณาความดีความชอบในด้าน การกำกับศิลป์ในภาพยนตร์ รวมไปถึง งานศิลป์อื่น ๆ ในภาพยนตร์ เช่น การออกแบบเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า (Makeup)

สาขาใหม่อีกสาขาหนึ่งใน เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 3 ที่เป็นผลจากการแบ่งสาขาทางเทคนิค คือ สาขาเทคนิคพิเศษทางภาพ

ส่วนในสาขาด้านอื่น ๆ ไม่มีความเปลี่ยนแปลงใด ๆ นอกจากการตัดสาขา มิวสิกวิดีโอ ออกไป ในหมวดสาขาด้านดนตรี

นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงอีกอย่างหนึ่ง ที่เกิดขึ้นใน เฉลิมไทยวอร์ด ครั้งที่ 3 ก็คือ การเปลี่ยนชื่อสาขา จาก ยอดเยี่ยม เป็น แห่งปี เพื่อให้ตรงกับวิธีการ และขั้นตอนในการคัดเลือกผู้เข้าชิง และผู้ชนะ ซึ่งเป็นการคัดเลือกจากการลงคะแนนของสมาชิกเว็บไซต์ พันทิป ประจำโต๊ะ เฉลิมไทย

ผลรางวัลเฉลิมไทยอวอร์ดครั้งที่ 3[แก้]

มีดังต่อไปนี้[1]

สาขาภาพยนตร์[แก้]

สาขาภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Million Dollar Baby
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Closer
  • Crash
  • Finding Neverland
  • Harry Potter and The Goblet of Fire
  • Sideways

สาขาภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาภาพยนตร์์แอนิเมชันแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Corpse Bride
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Chicken Little
  • Wallace & Gromit in The Curse of the Were-Rabbit

สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Clint Eastwood จาก Million Dollar Baby
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Martin Scorsese จาก The Aviator
  • Mike Newell จาก Harry Potter and The Goblet of Fire
  • Paul Haggis จาก Crash
  • Peter Jackson จาก King Kong

สาขาผู้กำกับภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Jamie Foxx จาก Ray
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Johnny Depp จาก Finding Neverland
  • Leonardo DiCaprio จาก The Aviator
  • Paul Giamatti จาก Sideways
  • Russell Crowe จาก Cinderella Man

สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Hilary Swank จาก Million Dollar Baby
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Annette Bening จาก Being Julia
  • Gwenyth Paltrow จาก Proof
  • Naomi Watts จาก King Kong
  • Rachel McAdams จาก Red Eye

สาขานักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงชายในบทสมทบแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Clive Owen จาก Closer
  • Matt Dillon จาก Crash
  • Morgan Freeman จาก Million Dollar Baby
  • Paul Giamatti จาก Cinderella Man

สาขานักแสดงหญิงในบทสมทบแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Cate Blanchet จาก The Aviator
  • Natalie Portman จาก Closer
  • Thandie Newton จาก Crash
  • Verginia Madsen จาก Sideways

สาขาบทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Million Dollar Baby
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Be with You
  • Closer
  • Crash
  • Finding Neverland
  • Sideways

สาขาบทภาพยนตร์ไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาดนตรีประกอบแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Finding Neverland
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • The Aviator
  • The Chronicles of Narnia: The Lion, the Witch and the Wardrobe
  • March of the Penguins
  • King Kong

สาขาเพลงในภาพยนตร์แห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • The Blower's Daughter จาก Closer
  • Can't Take In It จาก The Chronicles of Narnia: The Lion, the Witch and the Wardrobe
  • Endless Story จาก Nana
  • Vois Sur Ton Chemin จาก The Chorus

สาขางานสร้างในภาพยนตร์แห่งปี (ถ่ายภาพ/ตัดต่อ/งานเสียง)[แก้]

ผู้ชนะ
  • King Kong
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • The Aviator
  • March of the Penguins
  • Star Wars Episode 3: Revenge of the Sith
  • War of the Worlds

สาขางานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี (กำกับศิลป์/เครื่องแต่งกาย/แต่งหน้า))[แก้]

ผู้ชนะ
  • The Aviator
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • The Chronicles of Narnia: The Lion, the Witch and the Wardrobe
  • Finding Neverland
  • Lemony Snicket's A Series of Unfortunate Events
  • King Kong

สาขาเทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • King Kong
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Harry Potter and the Goblet of Fire
  • Sin City
  • Star Wars Episode 3: Revenge of the Sith
  • War of the Worlds

สาขาทางดนตรี[แก้]

สาขาอัลบั้มศิลปินต่างประเทศแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • Confessions on a Dancefloor (Madonna)
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • The Emancipation of Mimi (Mariah Carrey)
  • Love. Angel. Music. Baby. (Gwen Stefani)
  • Monkey Business (Black Eyed Peas)
  • X&Y (Coldplay)

สาขาอัลบั้มศิลปินไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Believe - Bodyslam
  • Lipta - Lipta
  • P2Warship - P2Warship
  • Vanilla - Flure

สาขาศิลปินต่างประเทศแห่งปี (เดี่ยว/คู่)[แก้]

ผู้ชนะ
  • Madonna
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Gwen Stefani
  • Kelly Clarkson
  • Mariah Carrey
  • Rob Thomas

สาขาศิลปินไทยแห่งปี (เดี่ยว/คู่)[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขาศิลปินต่างประเทศแห่งปี (ศิลปินกลุ่ม)[แก้]

ผู้ชนะ
  • Black Eyed Peas
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Coldplay
  • Franz Ferdinand
  • Simple Plan
  • U2

สาขาศิลปินไทยแห่งปี (ศิลปินกลุ่ม)[แก้]

ผู้ชนะ
  • Endrophin
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • โปเตโต้
  • Bodyslam
  • Flur
  • Lipta

สาขาเพลงสากลแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • Lonely No More (Rob Thomas)
  • My Humps (Black Eyed Peas)
  • Sometimes You Can't Make It On Your Own (U2)
  • We Belong Together (Mariah Carrey)

สาขาเพลงไทยแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • เรื่องบนเตียง (Peacemaker)
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • ความรักทำให้คนตาบอด (Bodyslam)
  • น้ำเต็มแก้ว (Endorphine)
  • รักแท้ดูแลไม่ได้ (โปเตโต้)
  • ฤดูที่ฉันเหงา (Flur)

สาขาสถานีวิทยุแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • 95.5 Virgin Hitz
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • 97.5 Seed
  • 102.5 Get FM

สาขาทางสื่อโทรทัศน์[แก้]

สาขาละครโทรทัศน์แห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • กุหลาบสีดำ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • ดาวหลงฟ้า
  • เมื่อวันที่ฟ้าเปลี่ยนสี
  • ราชินีหมอลำ
  • สองเรา...นิรันดร

สาขาโฆษณาแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • DTAC ชุด พอดี
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • ไทยประกันชีวิต ชุด เวลา
  • เบียร์สิงห์ ชุด การไหว้ทำให้เราสวยขึ้น

สาขารายการโทรทัศน์แห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • คนค้นคน
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • กบนอกกะลา
  • คุณพระช่วย
  • ผู้หญิงถึงผู้หญิง
  • แฟนพันธุ์แท้

สาขานักแสดงนำชายแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงนำหญิงแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สาขานักแสดงสมทบชายแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • ชาตโยดม หิรัณยัษฐิติ จาก เลดี้เยาวราช
  • นิรุตติ์ ศิริจรรยา จาก ระเบียงรัก
  • อรรถพร ธีมากร จาก รักแปดพันเก้า ปี2
  • อนุชิต สพันธุ์พงษ์ จาก เมื่อวันฟ้าเปลี่ยนสี

สาขานักแสดงสมทบหญิงแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • จารุณี สุขสวัสดิ์ จาก กุหลาบสีดำ
  • ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ จาก ระเบียงรัก
  • สาวิตรี สามิภักดิ์ จาก ดาวหลงฟ้า
  • อริสรา วงษ์ชาลี จาก รักแปดพันเก้า ปี2

สาขาบทละครโทรทัศน์แห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • กุหลาบสีดำ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • ดาวหลงฟ้า
  • เมื่อวันที่ฟ้าเปลี่ยนสี
  • ราชินีหมอลำ
  • ระเบียงรัก

สาขาสถานีข่าวแห่งปี[แก้]

ผู้ชนะ
  • ITV
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ
  • สถานีข่าวช่อง 3
  • Modernine TV

สาขาพิเศษ[แก้]

บุคคลประจำปีของโต๊ะเฉลิมไทย[แก้]

ผู้ชนะ
ผู้เข้าชิงอื่น ๆ

สรุปรายชื่อผู้เข้าชิง (เฉพาะสาขาทางภาพยนตร์)[แก้]

ภาพยนตร์ 35 เรื่องดังต่อไปนี้ ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิง เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 3

สรุปรายชื่อผู้ชนะ (เฉพาะสาขาทางภาพยนตร์)[แก้]

ภาพยนตร์ 8 เรื่องดังต่อไปนี้ ได้รับการลงคะแนนเป็นผู้ชนะ เฉลิมไทยอวอร์ด ครั้งที่ 3

ชนะใน 6 สาขา
(ภาพยนตร์ไทยแห่งปี, นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี, นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี, นักแสดงหญิงในบทสมทบแห่งปี, บทภาพยนตร์ไทยแห่งปี, เพลงในภาพยนตร์แห่งปี)
ชนะใน 4 สาขา
  • Million Dollar Baby
(ภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, ผู้กำกับภาพยนตร์์ต่างประเทศแห่งปี, นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี, บทภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)
ชนะใน 2 สาขา
(ผู้กำกับภาพยนตร์ไทยแห่งปี, นักแสดงชายในบทสมทบแห่งปี)
  • King Kong
(งานสร้างในภาพยนตร์แห่งปี, เทคนิคพิเศษทางภาพแห่งปี)
ชนะไปสาขาเดียว
  • The Aviator
(งานศิลป์ในภาพยนตร์แห่งปี)
  • Corpse Bride
(ภาพยนตร์์แอนิเมชันแห่งปี)
  • Finding Neverland
(ดนตรีประกอบแห่งปี)
  • Ray
(นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตร์ต่างประเทศแห่งปี)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]