สมบัติ จันทรวงศ์
สมบัติ จันทรวงศ์ | |
---|---|
เกิด | 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 จังหวัดสงขลา ประเทศไทย |
นามปากกา | สมบัติ |
อาชีพ | นักเขียน, อาจารย์, นักเคลื่อนไหว |
สัญชาติ | ไทย |
ช่วงปีที่ทำงาน | พ.ศ. 2516 - ปัจจุบัน |
ศาสตราจารย์ สมบัติ จันทรวงศ์ เป็น นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติประจำปี 2538 อดีตศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านปรัชญาการเมืองคนสำคัญของประเทศและเป็นผู้บุกเบิกการสอนวิชาปรัชญาการเมืองและความคิดทางการเมืองในประเทศไทย จนได้รับการกล่าวขานว่า "เพลโตเมืองไทย"
ประวัติ
[แก้]ศาสตราจารย์ สมบัติ จันทรวงศ์ หรือ ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ จันทรวงศ์ เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488 ณ จังหวัดสงขลา เป็นอดีตอาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาการเมืองการปกครอง ได้ประกาศลาออกเพื่อแสดงความรับผิดชอบหลัง ถูกสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ชี้มูลว่า เป็นผู้ถือครองทรัพย์สินแทน(นอมินี) ครอบครัว พล.อ.เสถียร เพิ่มทองอินทร์ อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556[1]
การศึกษา
[แก้]- โรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา
- โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- อนุปริญญา (รัฐศาสตร์)คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- B.A. (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) (Political Science) Claremont Men's College, U.S.A.
- M.A. (Government) Claremont Graduate School
- Ph.D.(Government) Claremont Graduate School
ตำแหน่งปัจจุบัน
[แก้]- ศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- กรรมการสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ
- กรรมการวิชาการประจำโครงการปริญญาเอก สาขา สหปรัชญา ธรรมศาสตร์
ประสบการณ์ในอดีต
[แก้]- กรรมการประจำสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- กรรมการคณะกรรมการสร้างเสริมกิจกรรมทวีปัญญา คณะรัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์
- ผู้ชำนาญการและผู้เชี่ยวชาญการเลือกตั้ง คณะกรรมการเลือกตั้งแห่งชาติ
- ที่ปรึกษาประจำศูนย์ข้อมูลการเมืองท้องถิ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภาธรรมศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ที่ปรึกษาทางวิชาการ วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- อนุกรรมการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ คณะกรรมการว่าด้วยการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชนของหน่วยงานต่างๆ สำนักงาน ก.พ.
- อนุกรรมการวิชาการเพื่อส่งเสริมการเลือกตั้ง คณะกรรมการเลือกตั้ง
- ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาร่างแผนกลยุทธ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
- อนุกรรมการศึกษาปัญหารัฐธรรมนูญในคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (2516-2517)
- กองบรรณาธิการ รัฐศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2517-2518)
- กองบรรณาธิการ วารสารธรรมศาสตร์ (2517-2519)
- กรรมการสาขาสังคมศาสตร์ ยูเนสโก (2517-2519)
- กรรมการคณะกรรมการบริหารโครงการเอเซียอาคเนย์ศึกษา [สิงคโปร์] (2519-2522)
- เลขาธิการสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (2516-2522)
- กองบรรณาธิการ วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2521-2523)
- Visiting Scholar, Institute of Governmental Studies, University of California [ Berkeley ], (2522-2523)
- เลขานุการรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (2523-2524)
- รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (2523-2524)
- กรรมการคณะกรรมการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ (2523-2524)
- กรรมการคณะกรรมการบริหารวิทยุและโทรทัศน์ [กบว ] (2523-2524)
- รองผู้อำนวยการสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2524-2525)
- รองประธานคณะกรรมการบริหารสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2525-2526)
- กรรมการบริหารสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (2516-2529)
- อนุกรรมการอุดมการแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี (2522-2526)
- กรรมการสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2526-2526)
- ผู้อำนวยการโครงการสนเทศไทยศึกษา สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2526-2528)
- ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2527-2528)
- อนุกรรมการบัญญัติศัพท์ทางรัฐศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน (2528-2530)
- อนุกรรมการจัดทำวัสดุเผยแพร่ประชาธิปไตยและการพัฒนา สำนักนายกรัฐมนตรี (2524- 2529)
- กรรมการบริหาร สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- คณะที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการของอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- กรรมการกลั่นกรองการบรรจุข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย [มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]
- กรรมการบริหาร สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- กรรมการคณะกรรมการกลางว่าด้วยการศึกษารัฐศาสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ
- กรรมการคณะกรรมการวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ที่ปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎร (2535)
- กรรมการคณะกรรมการปรับปรุงเครือข่ายการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ (2535)
- กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
- วิทยากรประจำรายการ "ความรู้คือประทีป" ไทยทีวีสีช่อง 9 อสมท.
- นายทะเบียน สมาคมรัฐศาสตร์แห่งประเทศไทย
- กรรมการบริหารศูนย์วิจัยข้อมูลการเมืองไทย สภาวิจัยแห่งชาติ (2538)
- กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา (13-29 มิ.ย.2538)
- กรรมการดำเนินงานศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย (ก.ย.2538)
- ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายแนวคิดการพัฒนา (ส.ค.2538)
- กรรมการจัดทำข้อเสนอเรื่องหลักสูตรและการบริหารวิชาพื้นฐานทั่วไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ก.ย.2538)
- อ.ก.พ. วิสามัญเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อปรับปรุงการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน สำนักงาน ก.พ.(2538)
- กรรมการจัดรูปแบบงานและจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ โครงการรณรงค์ขจัดโรคขาดสาร ไอโอดีน ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 258/2538 ลงวันที่ 27 พ.ย.2538
ประสบการณ์ด้านวิทยุ โทรทัศน์
[แก้]อดีต - ผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ "ความรู้คือประทีป" ของบริษัทเอสโซและสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท.
- ผู้ดำเนินรายการ "กรองสถานการณ์" ช่อง 11
- ผู้ดำเนินรายการ "ถามตรง" ยูบีซี
- ผู้ดำเนินรายการ "Bangkok Tonight" ไทยสกาย
- ผู้ดำเนินรายการวิทยุ "เปิดประเด็น" FM97.5
- ผู้ดำเนินรายการวิทยุ "เปิดประเด็น" FM96.5
- ผู้ดำเนินรายการวิทยุ "เปิดประเด็น" FM101
- ผู้ดำเนินรายการวิทยุ "เหลียวหลังแลหน้า" FM102.5
- ผู้ดำเนินรายการวิทยุ "จับเข่าคุยกัน" FM102.5
- ผู้ดำเนินรายการวิทยุ "บ้านนี้เมืองนี้" FM101
- ผู้ดำเนินรายการ "หนี้แผ่นดิน" ทาง ยูบีซี ช่อง 07
- ผู้ดำเนินรายการ “ถนนความคิด” FM.99.5
รางวัลและทุนที่เคยได้รับ
[แก้]- ทุนเรียนดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2506-2509)
- The Frank Bell Appleby Fellowship, Claremont McKenna College . (2509-2511)
- The Rockefeller Foundation Fellowship.(2511-2515)
- ทุนวิจัย สภาวิจัยแห่งชาติ(2518,2534)
- ทุนวิจัย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(2518-2525)
- The American Council of Learned Societies.(2522-2523)
- ทุนวิจัย สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (2524-2525)
- The Asia foundation(2526-2530)
- The Ford Foundation.(2527-2530)
- รางวัล โครงการส่งเสริมการสร้างตำรา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2529,2535)
- สมาชิก , Phi Beta Kappa Tau of California (Claremont McKenna College)
- นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2538 สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
งานวิจัย
[แก้]- "บทวิเคราะห์การศึกษาทางการเมืองในงานเขียนประเภทนิทานของสุนทรภู่" มูลนิธิโครงการตำราฯ 2519
- "โลกทัศน์สุนทรภู่" สภาวิจัยแห่งชาติ 2521
- "ความคิดทางการเมืองไทย" สถาบันวิจัยไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2518-22
- "The Birth of the American Regime : A Study of American Political Thought 1776-1787" The American Council of Learned Societies, 2522-3
- "สัญลักษณ์ของชาติในตราไปรษณียากรไทย : การศึกษาตราไปรษณียากรไทย พ.ศ .2426-2524" สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 2525
- "วิวัฒนาการอุดมการชาติไทย" โครงการไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2526
- โครงการชุมชนปฐมอโศก : การศึกษาพุทธยูโทเปีย
- The Asian Views : An Annotated Bibliography of ASEAN Theses and Dissertations on Southeast Asia from 1984 to 1987. The Ford Foundation.
- "การปราศรัยหาเสียง : เนื้อหาและแบบแผน (ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528" ใน สมบัติ จันทรวงศ์ และชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (บรรณาธิการ) อยู่เมืองไทย (สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2530) หน้า 309-409
- การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง :ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2528
- การเมืองเรื่องการหาเสียงเลือกตั้ง : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2529
- พรรคการเมืองใหม่ : ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคพลังธรรม 2532
- ภาษาและการเมือง สถาบันวิจัยไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2533
- การเลือกตั้งไทยกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียง : ปัญหาพื้นฐานและแนวทางการแก้ไข สภาวิจัยแห่งชาติ 2535
- บทบาทพระสงฆ์กับความเปลี่ยนแปลงในสังคม การศึกษาความคิดและงานของพระพยอม กัลยาโณ พ.ศ. 2522-2537 ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2539
- การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2539: การศึกษายุทธศาสตร์การสร้างภาพ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พฤษภาคม 2540
- "การวางตนเป็นกลางทางการเมืองของเจ้าหน้าที่ของรัฐ" สำนักงาน ก.พ.2541
- "Global Analysis of the Political Economy of Tobacco Control in Low and Middle Income Countries : Political Economy of Tobacco Control in Thailand " ร่วมกับ Dr.Duncan McCargo
- การเมืองเรื่องการปัดความรับผิดชอบ การศึกษากระบวนการจัดการกับ ”ความจริง” โดยการสร้างคำให้เหตุผลและคำแก้ตัวของนักการเมืองไทย พ. ศ .2531-40 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ก.ย.42-เม.ย.44
- การสรรสร้างภาพอลังการแห่งการเมืองไทย การศึกษากระบวนการผลิตคำอธิบายหลักของผลการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2543(4) สภาวิจัยแห่งชาติ ส.ค.43 - พ.ย.44
- ปัญหาความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมกับ มุมมองด้านวัฒนธรรม : กรณีศึกษานวนิยายไทย พ.ศ. 2475- หลัง พ.ศ .2516 และ การขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม : กรณีศึกษาปัญหา สปก.4-01 มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) พ.ศ. 2546
ผลงานทางวิชาการ
[แก้]- บทความ
- " ทฤษฎีประชาธิปไตยอเมริกัน : The Federalist Papers " ใน วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ก.ค. 2513 หน้า 44-55 และพิมพ์ซ้ำใน ประชาธิปไตยของชาวบ้าน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการ 2516
- "ปรัชญาการเมืองและรัฐศาสตร์" ใน รัฐศาสตร์สาร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ย. 2515 หน้า 1-24
- วิจารณ์หนังสือของ ธวัช มกรพงศ์ History of the Thai Revolution : A Study in Political Behaviour, ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พ . ย . 2515 - มี . ค . 2516, หน้า 165-167.
- "สิทธิในการปฏิวัติของอาริสโตเติล" รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 ก.ย. - ธ.ค. 2516 หน้า 1-19
- "ผู้เรียน : ชนกลุ่มน้อยตลอดกาล" ใน วารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 6 2516 หน้า 17-20
- "มหาวิทยาลัยกับสังคม" ใน ศูนย์ศึกษา ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 เม.ย. - มิ.ย. 2516 หน้า 32-33
- วิจารณ์หนังสือของ Donald R. Matthews, U.S.Senators and Their World , ใน วารสารบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1, 2517 หน้า 113-115.
- " เสถียรภาพของประชาธิปไตยในทัศนะของอาริสโตเติล " ใน วารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 พ . ศ . 2517, หน้า 79-87
- วิจารณ์หนังสือของ Donald G. Tacheron and Morris K. Udall, The Job of The Congressmen , ใน วารสารบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 พ . ศ . 2517 หน้า 219-222
- " เพลโตกับปัญหาผู้คุ้มกัน " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ก . พ .2517 หน้า 2-7
- " โสเกรตีส : ผู้ผิดหรือผู้บริสุทธิ์ " ใน วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 พ . ศ .2517 หน้า 58-66
- " กวีกับข้อจำกัดทางสังคม : ศรีปราชญ์ " ใน อักษรศาสตร์พิจารณ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 2517 หน้า 39-44
- " กอร์เจียส ไม่ใช่พูดดีหรือพูดเก่ง " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2517 - มกราคม 2518 หน้า 97-112
- " ยูโทเปีย : แนวคิดสองแบบ " ใน อักษรศาสตร์พิจารณ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 11-12 เมษายน 2517 หน้า 50-55
- " อาริสโตเติลกับปัญหาเรื่องความกล้าหาญ " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 2518 - 2519 หน้า 48 – 56
- " ประชาธิปไตยในสภา : คำตอบที่ยังไม่สมบูรณ์ " ใน รัฐสภาสาร ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม 2519 หน้า 79 – 83
- " เจ้ากับไพร่ : จากศรีปราชญ์ถึงสุนทรภู่และกวีการเมือง " ใน อักษรศาสตร์พิจารณ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 มกราคม 2519 หน้า 5 - 10
- บทวิเคราะห์การศึกษาทางการเมืองในงานเขียนประเภทนิยายของสุนทรภู่ " ใน รักเมืองไทย เล่มที่ 1 สมบัติ จันทรวงศ์ และ รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ บรรณาธิการ โครงการตำรา ฯ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 2519 หน้า 105-194
- " ระบบสหรัฐและระบบพรรคการเมือง : ภาพสะท้อนจากการเลือกตั้งประธานาธิบดีอเมริกัน " ใน วารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์ ฉบับวิชาการ ปีที่ 14 ฉบับที่ 3-4 เมษายน - มิถุนายน 2519 หน้า 169 - 189
- " คำสอนทางการเมืองของวันวลิตหรือวิเทโศบายของพระเจ้าปราสาททอง " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มิถุนายน - กรกฎาคม 2519 หน้า 71 - 118
- " เราควรจะศึกษาปรัชญาของเพลโตอย่างไร " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ตุลาคม - ธันวาคม 2519 หน้า 47 - 55
- วิจารณ์ นักปรัชญาการเมืองฝรั่ง ส . ศิวรักษ์ เรียบเรียง ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 2520 หน้า 205 - 208
- " สัญญาประชาคมของรุสโซ " ใน รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 พ . ย .2520 หน้า 49-66
- " สังคมศาสตร์ : ศาสตร์ของพ่อมด ? " ใน วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2521 หน้า 98-114
- " ศรีธนญไชย : ความคิดเรื่องอำนาจและปัญญา " ตอนที่ 1 ใน รวมปาฐกถาจากสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ . ศ .2520-2521 หน้า 279-304
- " ราชนิติ : บทวิเคราะห์ " ใน วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 ก . ค . - ก . ย . 2521 หน้า 152-169
- " โลกทัศน์ของสุนทรภู่ " ใน วารสารศิลปากร ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 เม . ย .- มิ . ย .2521 หน้า 172-211
- " ปรัชญาการเมือง : คลาสสิกและสมัยใหม่ " ใน วารสารศิลปากร ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 ต . ค .- ธ . ค . 2521 หน้า 139-157
- พระญาจักรพรรดิราชใน ไตรภูมิพระร่วง : ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับความหมายทางการเมือง " ใน วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ม . ค . - เม . ย . 2522 หน้า 1-17
- " จอห์น ซี . แคลฮูน เจ้าทฤษฎีแห่งชนชั้นผู้เป็นนายกับแนวคิดเรื่องสังคมและรัฐบาล " ใน วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2525 หน้า 47-65
- " อธิบายทฤษฎีประชาธิปไตยอเมริกัน : The Federalist Papers " ใน รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 พ . ศ .2526 หน้า 51-106
- วิจารณ์หนังสือของ Paul Covinaux, Why Big Fierce Animals are Rare : An Ecologist's perspective ใน รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 พ . ศ .2526 หน้า 204-212
- " เวนิสวาณิช : ความรักกับสังคมการเมือง " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 พ . ศ .2526 หน้า 6-31
- " ทฤษฎีปฏิวัติอเมริกัน : บทวิเคราะห์คำประกาศอิสรภาพ " ใน วุฒิชัย มูลศิลป์ และ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ การปฏิวัติครั้งสำคัญของโลก ( สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ . ศ .2526)
- " ปรัชญาการเมือง : ตัวบทและการศึกษา " ใน ปรัชญาการเมือง โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช พ . ศ .2527 เล่ม 1 หน้า 1-54
- " ปรัชญาการเมืองตะวันออก " ใน ปรัชญาการเมือง โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ . ศ . 2527 เล่ม 3 หน้า 642-654
- " ชีววิทยาการเมือง " ใน หลักและวิธีการศีกษาทางรัฐศาสตร์ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช พ . ศ .2527 หน้า 598-630
- วิจารณ์หนังสือของ George Zabriskie Gray, The Children's Crusade . ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 พ . ศ .2528 หน้า 226-229
- " การปราศรัยหาเสียง : เนื้อหาและแบบแผน ( ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร พ . ศ .2528" ใน สมบัติ จันทรวงศ์ , ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ อยู่เมืองไทย : รวมบทความทางสังคมการเมืองเพื่อเป็นเกียรติแก่ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก ในโอกาส อายุครบ 60 ปี ( สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ . ศ .2530)
- " The Prince และ The Discourses : เจตนารมณ์ของมาคิอาเวลลี " ใน วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 พ . ศ .2530 หน้า 111-130
- " Mandragola : ความนำว่าด้วยปรัชญาการเมืองของมาคิอาเวลลี รัฐศาสตร์สาร ฉบับพิเศษครบรอบ 12 ปี ปรัชญาและความคิด เมษายน 2530 หน้า 13-54
- " ศาสนากับการเมือง : ข้อสังเกตเบื้องต้นว่าด้วยอุดมการณ์และวิเทโศบายของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ใน รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 - ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 ก . ย . 2531 - เม . ย . 2532 หน้า 22-127
- " สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง ( หน ) : ข้อสังเกตเบื้องต้นว่าด้วยความหมายทางการเมือง " ใน วารสารเอเซียตะวันออกศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ธันวาคม 2532 หน้า 13-42
- " ข้อสังเกตเบื้องต้นว่าด้วยคำพูดในประวัติศาสตร์อยุธยา : ศึกษาเฉพาะกรณีบทสนทนาใน พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา " ใน สุนทรี อาสะไวย์ ม . ล . วัลย์วิภา บุรุษรัตนพันธ์ กาญจนี ละอองศรี ไทยคดีศึกษา : รวมบทความทางวิชาการเพื่อแสดงมุทิตาจิตอาจารย์ พันเอกหญิง คุณนิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ( คณะกรรมการจัดงานแสดงมุทิตาจิตครบรอบ 60 ปี อาจารย์พันเอกหญิง คุณนิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา พ . ศ .2533) หน้า 123-171
- " บทบาทของเจ้าพ่อท้องถิ่นในเศรษฐกิจและการเมืองไทย : ข้อสังเกตเบื้องต้น " ใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร , สังศิต พิริยะรังสรรค์ ( บรรณาธิการ ) รัฐ ทุน เจ้าพ่อท้องถิ่นกับสังคมไทย ( ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สิงหาคม 2535) หน้า 117-139
- “ การศึกษาเกี่ยวกับโลกตะวันตกในเมืองไทย : ภาพสะท้อนจากงานเขียนและสถาบัน ” ใน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย วิเทศคดีศึกษา : รากฐานของเมืองไทยในระบบโลกสมัยใหม่ (มิถุนายน 2538) หน้า 41-74
- “ ศาสนชุมชนอิสระในรัฐที่เป็นเสรี : ว่าด้วยเสรีภาพทางศาสนาและการเมืองในปรัชญาการเมืองตะวันตก ” ใน จรัญ โฆษณานันท์ (บก.) วิถีสังคมไทย : สรรนิพนธ์ทางวิชาการเนื่องในวาระ 1 ศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์ (กรุงเทพฯ มิถุนายน 2543) หน้า 563-582
- หนังสือ
- ยูโทเปีย ( แปลและเขียนคำนำ ) โครงการตำราฯ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517-2518 , 240 หน้า
- ทฤษฎีการเมืองตะวันตก เล่ม 1 ( แปลจาก Lee Cameron Mc Donald, Western Political Theory , Part I) พ.ศ. 2520 , 287 หน้า
- ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ( บรรณาธิการ ) โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2521 , 185 หน้า
- ความคิดทางการเมืองและสังคมไทย ( ร่วมกับ ชัยอนันต์ สมุทวนิช ) สำนักพิมพ์บรรณกิจ กุมภาพันธ์ 2523, 380 หน้า
- ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น : บทวิเคราะห์โสเกรตีส สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กันยายน 2524 , 359 หน้า
- รัฐศาสตร์ : สถานภาพและพัฒนาการ ( บรรณาธิการ ) สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2525 , 213 หน้า
- การผจญภัยของทอม ซอว์เยอร์ หรือความคิดทางการเมืองของมาร์ค ทเวน แปลจาก Harry V. Jaffa, Tom Sawyer : Hero of Middle America ใน Harry V. Jaffa's The Conditions of Freedom The Johns Hopkins University Press, Baltimore & London 1975, pp. 191–224) [ สำนักพิมพ์บรรณกิจ , 2524, 100 หน้า ]
- แสตมป์กับสังคม : สัญลักษณ์ของชาติในตราไปรษณียากรไทย พ.ศ. 2426-2524 สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทยและสำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ พ.ศ. 2526 , 167 หน้า
- ความนำว่าด้วย Republic ของเพลโต สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2527, 122 หน้า
- มหาชนรัฐและประชาธิปไตย : ความคิดทางการเมืองอเมริกัน พ.ศ. 2319-2343 สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2529,408 หน้า
- สุนทรภู่ ดูโลกและสังคม สำนักพิมพ์ศิลปวัฒนธรรม พฤษภาคม 2529 , 198 หน้า
- เดอะเฟเดอรัลลิสต์เปเปอร์ : เอกสารความคิดทางการเมืองอเมริกัน บรรณาธิการแปล และเขียนบทนำ ) สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ . ศ .2530 , 660 หน้า
- การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และสมาชิกสภาเขต พ . ศ .25 28 มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตย และการพัฒนา มีนาคม 2530 , 304 หน้า
- การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง : ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2529 มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา ตุลาคม 2530 , 138 หน้า
- อยู่เมืองไทย : รวมบทความทางสังคมการเมือง เพื่อเป็นเกียรติแด่ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก ในโอกาสอายุครบ 60 ปี (บรรณาธิการร่วมกับชัยวัฒน์ สถาอานันท์ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2530 , 410 หน้า
- ชุมชนปฐมอโศก : การศึกษาพุทธยูโทเปีย โรงพิมพ์มูลนิธิธรรมสันติ พ . ศ .2531, 160 หน้า
- 200 ปี รัฐธรรมนูญอเมริกัน : อดีต ปัจจุบันและอนาคตของมหาชนรัฐประชาธิปไตย ( บรรณาธิการแปล ) [ หจก . บรรณกิจเทรดดิ้ง ,2531 ,194 หน้า ]
- วิวัฒนาการและแนวโน้มของพรรคการเมืองใหม่ : ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคพลังธรรม มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา เมษายน 2532 ,88 หน้า
- ภาษาทางการเมือง : พัฒนาการของแนวอธิบายการเมืองและศัพท์การเมือง ในงานเขียนประเภทสารคดีทางการเมืองของไทย พ . ศ .2475-2525 สถาบันไทยคดีศึกษา 2533 ,415 หน้า
- ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น : บทวิเคราะห์โสเกรตีส สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ธันวาคม 2535 , 262 หน้า
- การเลือกตั้งไทยกับพฤติกรรมเบี่ยงเบนในการหาเสียง : ปัญหาพื้นฐานและแนวทางการแก้ไข สภาวิจัยแห่งชาติ กันยายน 2535 , 391 หน้า
- เลือกตั้งวิกฤติ : ปัญหาและทางออก โครงการจัดพิมพ์คบไฟ ตุลาคม 2536 ,268 หน้า
- โลกทัศน์ของสุนทรภู่ สำนักพิมพ์มติชน มิถุนายน 2537 , 262 หน้า
- ความหมายทางการเมืองของ สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง ( หน ) สำนักพิมพ์มติชน มีนาคม 2538 , 152 หน้า
- เจ้าผู้ปกครอง แปลและเขียนคำนำ จาก Niccolo Machiavelli, The Prince [ Translation, Introduction and Notes by Leo Paul S. de Alvarez (Waveland Press,INC. Prospect Heights, Illinois, 1989)] พร้อมภาคผนวกเรื่อง Madragola : ความนำว่าด้วยปรัชญาการเมืองของมาคิอาเวลลี สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2538, 360 หน้า
- บทพิจารณ์ว่าด้วยวรรณกรรม การเมืองและประวัติศาสตร์ โครงการจัดพิมพ์คบไฟ มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา พฤษภาคม 2540, 462 หน้า
- เจ้าผู้ปกครอง แปลและเขียนคำนำ จาก Niccolo Machiavelli, The Prince [ Translation, Introduction and Notes by Leo Paul S. de Alvarez (Waveland Press,INC. Prospect Heights, Illinois, 1989)] พร้อมภาคผนวกเรื่อง Madragola : ความนำว่าด้วยปรัชญาการเมืองของมาคิอาเวลลี ฉบับพิมพ์ครั้งที่สอง กรุงเทพฯ โครงการจัดพิมพ์คบไฟ ,2542,366 หน้า
- ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น : บทวิเคราะห์โสเกรตีส ฉบับพิมพ์ครั้งที่สาม กรุงเทพฯ . โครงการจัดพิมพ์คบไฟ , 2546,285 หน้า
- พูดไปสองไพเบี้ย ทำความเข้าใจกับสิ่งที่นักการเมืองไทย(ไม่)พูด โครงการจัดพิมพ์คบไฟ พ.ศ. 2549,416 หน้า
- ประวัติปรัชญาการเมืองเล่ม 1-3 แปล จาก Leo Strauss and Joseph Cropsey .กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ
- ผลงาน (ภาษาอังกฤษ)
- "The Political Teaching of Jeremias van Vliet or the Statecraft of King Prasadthong" The Review of Social Sciences : A Collection of Articles by Thai Scholars. ลิขิต ธีรเวคิน และ มนตรี เจนวิทย์การ บรรณาธิการ ( สมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย 2520) หน้า 37-93
- "Cosmological Basis of Thai Bureaucratic Behavior : The Missing Link" The Studies of Social Science : A Collection of Articles by Thai Scholars , มนตรี เจนวิทย์การ บรรณาธิการ ( สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย 2521) หน้า 117-130
- "Religious Literature in Thai Political Perspective : The Case of the Maha Chat Kamluang " in Tham Soeng Chee (ed.) Essays on Literature and Society in Southeast Asia : Political and Sociological Perspectives , Singapore University press, 1981, pp. 187–205.
- "Political Science in Thailand" in Takeo Uchida (ed.) Political Science in Asia and the Pacific (UNESCO Regional Office for Education in Asia and the Pacific, Bangkok, 1984) pp. 69–103.
- "The Political World of Sunthornphu" ใน Amara Ponsapitch (ed.) Traditional and Changing Thai World View (The Southeast Asian Studies Program and Chulalongkorn University Social Research Institute, 1985) pp. 54–83.
- "Borrowed From U.S.A. : The Impact of American Influence on the Constitution of Thailand" in Sarah Baumgartner Thurow (ed.) Constitutionalism in Perspective : The United States Constitution in Twentieth century Politics (University Press of America : Lanham, New York, London, 1988) pp. 211–226.
- "Tocqueville's Democracy in America and the Third World " in Vincent Ostrom, David Feeny, and Hartmut Picht (eds.) Rethinking Institutional Analysis and Development : Issues, Alternatives and Choices. (The International Center for Economic Growth; San Francisco, 1988) pp. 69–99.
- "The Separation of Powers : From Montesquieu to Publius" in Wariya S. Chinwanno and Chaichana Ingavata (eds.) U.S. Constitution in Thai Perspectives (The Chulalongkorn University Press, Bangkok,1990) pp. 19–38.
- "Constitutional Rule and the Institutionalization of Leadership and Security in Thailand " (co-author) in Stephen Chee (ed.) Leadership and Security in Southeast Asia : Institutional Aspects (Institute of Southeast Asian Studies, Singapore, 1991) pp. 141–178.
- "Tocqueville's Democracy in America : An Asian Perspective" in Ken Masugi (ed.) Interpreting Tocqueville's Democracy in America (Rowman & Littlefield Publishers, Inc., Savage Maryland, 1991) pp. 495–526.
- "To Address the Dust of the Dust Under the Soles of the Royal Feet : A Reflection on the Political Dimension of the Thai Court Language" in Asian Review 1992 (Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University, 1992) pp. 144–163.
- Sombat Chantornvong (and Duncan McCargo) “political Economy of Tobacco Control in Thailand” in J.Patrick Vaughan, Jeff Collin, Kelly lee Case Study Report : Global Analysis Project on the Political Economy of Tobacco Control in Low - and Middle- Income Countries London School of Hygiene and Tropical Medicine, London, July 2000.
- Sombat Chantornvong, “Local Godfathers in Thai Politics” in Ruth McVey (ed.) Money and Power in provincial Thailand . Nordic Institute of Asian Studies, Leifsgade 33, DK-2300 Copenhagen S, Denmark, 2000 pp. 53–73
- Sombat Chantornvong, “The 1997 Constitution and the politics of Electoral Reform” in Duncan McCargo(ed.) Reforming Thai Politics, The Nordic Institute of Asian Studies, Copenhagen, Denmark, 2002, pp. 203–223.
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2548 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2540 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[3]
- พ.ศ. 2546 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)[4]
- พ.ศ. 2540 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "สมบัติ จันทรวงศ์" แสดงสปิริต เตรียมยื่นลาออกจากอาจารย์มธ. จับตาเข้าชี้แจง ป.ป.ช.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2005-12-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๒ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๕, ๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๒๗ ข หน้า ๒๐, ๓ ธันวาคม ๒๕๔๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ เก็บถาวร 2021-10-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๒๙, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๗๓๐, ๑๘ มกราคม ๒๕๔๑
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2488
- บทความเกี่ยวกับ ชีวประวัติ ที่ยังไม่สมบูรณ์
- บุคคลจากจังหวัดสงขลา
- นักเขียนชาวไทย
- นักวิชาการชาวไทย
- นักปรัชญา
- นามปากกา
- นักเคลื่อนไหวชาวไทย
- อาจารย์คณะรัฐศาสตร์
- ศาสตราจารย์
- นิสิตเก่าคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ผู้ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งประเทศไทย
- บุคคลจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จ.ภ.