ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่มอสโก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox Military Conflict
{{Infobox Military Conflict
| conflict = ยุทธการมอสโก
| conflict = ยุทธการที่มอสโก
| partof = [[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
| partof = [[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
| image = [[ไฟล์:RIAN archive 887721 Defense of Moscow.jpg|300px]]
| image = [[ไฟล์:RIAN archive 887721 Defense of Moscow.jpg|300px]]
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}


'''ยุทธการมอสโก''' เป็นชื่อที่นักประวัติศาสตร์โซเวียตตั้งโดยหมายถึงการสู้รบที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์สองช่วงบนพื้นที่ 600 กิโลเมตรบน[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 1941 ถึงมกราคม ค.ศ. 1942 ความพยายามตั้งรับของโซเวียตทำให้การโจมตีของฮิตเลอร์ต่อมอสโก เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของสหภาพโซเวียต ไร้ผล มอสโกเป็นหนึ่งในวัตถุประสงค์ทางทหารและการเมืองหลักของกำลัง[[ฝ่ายอักษะ]]ใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา|การรุกรานสหภาพโซเวียต]]
'''ยุทธการที่มอสโก''' เป็นการทัพทางทหารที่ประกอบไปด้วยสองช่วงเวลาของการสู้รบที่มีนัยสำคัญทางยุทธศาสตร์จากระยะทาง 600 กิโลเมตร(370 ไมล์) เขตภาคของ[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เกิดขึ้นระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 1941 และเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ความพยายามในการป้องกันของโซเวียตทำให้การโจมตีของฮิตเลอร์ต่อ[[กรุงมอสโก]] เมืองหลวงและเมืองขนาดใหญ่ที่สุดของ[[สหภาพโซเวียต]] ไม่ประสบความสำเร็จ มอสโกเป็นหนึ่งในเป้าหมายหลักทางทหารและการเมืองสำหรับ[[ฝ่ายอักษะ|กองกำลังฝ่ายอักษะ]]ใน[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา|การบุกครองสหภาพโซเวียต]]ของพวกเขา


การรุกทางยุทธศาสตร์ของเยอรมัน รหัสนามว่า '''ปฏิบัติการไต้ฝุ่น''' เรียกร้องสำหรับการรุก[[ขบวนรูปแบบก้ามปู|แบบก้ามปูสองด้าน]] ด้านหนึ่งไปทางเหนือของมอสโกเข้าปะทะกับ[[แนวรบคาลีนิน]]โดย[[กองทัพยานเกราะที่ 3]] และ[[กองทัพยานเกราะที่ 4|ที่ 4]] พร้อมกับตัด[[เส้นทางรถไฟเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก-มอสโก|เส้นทางรถไฟจากมอสโก-เลนินกราด]] และอีกด้านหนึ่งไปทางใต้ของ[[แคว้นมอสโก]]เข้าปะทะกับ[[แนวรบตะวันตก(สหภาพโซเวียต)|แนวรบตะวันตก]] ทางใต้ของ[[ตูลา (รัสเซีย)|ตูลา]] โดย[[กองทัพยานเกราะที่ 2]] ในขณะที่กองทัพยานเกราะที่ 4 ได้เข้ารุกโดยตรงสู่มอสโกจากตะวันตก
[[ไฟล์:RIAN archive 375 Nazis surrender.jpg|thumbnail|กองทหารเวร์มัคท์ยอมจำนน]]


ในช่วงแรก กองกำลังโซเวียตได้ดำเนินการป้องกันทางยุทธศาสตร์ของ[[แคว้นมอสโก]]โดยสร้างแนวป้องกันทางลึกสามแนว จัดตั้งกองกำลังสำรองขึ้นมาใหม่ และนำกองกำลังมาจาก[[มณฑลทหารบกไซบีเรีย|มณฑลทหารบกของไซบีเรีย]]และ[[มณฑลทหารบกตะวันออกไกล|ตะวันออกไกล]] เมื่อการรุกของเยอรมันได้หยุดชะงักลง การรุกตอบโต้กลับทางยุทธศาสตร์ของโซเวียตและปฏิบัติการของการรุกขนาดเล็กได้บีบบังคับให้กองทัพเยอรมันได้กลับเข้าสู่ตำแหน่งรอบเมืองออร์ยอล เวียซมาและ[[วีเต็บสค์]] และเกือบที่จะล้อมกองทัพเยอรมันทั้งสามไว้ได้ มันเป็นความล้มเหลวครั้งใหญ่สำหรับเยอรมัน และจุดสิ้นสุดของความเชื่อของพวกเขาในชัยชนะของเยอรมันเหนือสหภาพโซเวียตอย่างรวดเร็ว<ref>{{cite book|last1=Shirer|first1=William L.|title=The Rise and Fall of the Third Reich|pages=275–87|chapter=24, Swedish (Book III)}}<!-- data re this cite were transferred from a mal-formed cite to Shirer's great work -- it needs double checking--></ref> อันเป็นผลลัพธ์มาจากการรุกที่ล้มเหลว จอมพล [[วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์]] ถูกสั่งปลดออกจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่ง[[กองทัพบกเยอรมัน (แวร์มัคท์)|กองทัพบกเยอรมัน]] โดยฮิตเลอร์ได้เข้ามาแทนที่ในตำแหน่งของเขา
การรุกทางยุทธศาสตร์ของเยอรมนีชื่อว่า '''ปฏิบัติการไต้ฝุ่น''' มีการวางแผนให้ดำเนินการรุกสองง่าม ด้านหนึ่งไปทางเหนือของมอสโกต่อแนวรบคาลีนิน โดยกลุ่มแพนเซอร์ที่ 3 และที่ 4 พร้อม ๆ กับการตัดขาดทางรถไฟสายมอสโก-เลนินกราด และอีกด้านหนึ่งไปทางใต้ของมณฑลมอสโกต่อแนวรบตะวันตก ทางใต้ของตูลา โดยกองทัพแพนเซอร์ที่ 2 ขณะที่กองทัพที่ 4 บุกไปยังมอสโกโดยตรงจากทางตะวันตก แผนปฏิบัติการเยอรมนีต่างหาก ชื่อ ปฏิบัติการโวทัน ถูกรวมอยู่ในการรุกระยะสุดท้ายของเยอรมนีด้วย


== เบื้องหลัง ==
ขั้นต้น กำลังโซเวียตดำเนินการป้องกันทางยุทธศาสตร์ต่อมณฑลมอสโกโดยสร้างแนวป้องกันทางลึกขึ้นสามแนว และจัดวางกองทัพหนุนซึ่งเพิ่งรวบรวมขึ้นใหม่ เช่นเดียวกับนำกำลังพลจากจังหวัดทหารบกไซบีเรียและตะวันออกไกล ต่อมา เมื่อการรุกของเยอรมนีหยุดชะงัก ฝ่ายโซเวียตดำเนินการตีโต้ตอบทางยุทธศาสตร์และปฏิบัติการรุกในระดับเล็กกว่าเพื่อบีบให้กองทัพเยอรมันล่าถอยกลับไปยังตำแหน่งรอบนครออร์ยอล เวียซมาและวีเตบสก์ เกือบล้อมกองทัพเยอรมันได้ถึงสามกองทัพไปพร้อมกันนั้นด้วย
{{บทความหลัก|ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา|}}
[[File:Eastern Front 1941-06 to 1941-12.png|thumb|upright=1.35|แนวรบด้านตะวันออกในช่วงเวลาของยุทธการที่มอสโก: {{legend|#fff8d5|การรุกช่วงแรกของแวร์มัคท์ – ถึง 9 กรกฏาคม ค.ศ. 1941|size=50%}}
{{legend|#ffd2b9|การรุกภายหลัง – ถึง 1 กันยายน ค.ศ. 1941|size=50%}}
{{legend|#ebd7ff|การโอบล้อมและยุทธการที่เคียฟ ถึง 9 กันยายน ค.ศ. 1941|size=50%}}
{{legend|#ccffcd|การรุกครั้งสุดท้ายของแวร์มัคท์ – ถึง 5 ธันวาคม ค.ศ. 1941|size=50%}}]]
[[ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา]] แผนการบุกครองของเยอรมัน เรียกร้องสำหรับการเข้ายึดครองกรุงมอสโกภายในสี่เดือน เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 กองกำลังฝ่ายอักษะได้เข้ารุกรานสหภาพโซเวียต ได้ทำลาย[[กองทัพอากาศโซเวียต]]ส่วนใหญ่บนภาคพื้นดิน และรุกเข้าลึกสู่ดินแดนสหภาพโซเวียตโดยใช้กลยุทธ์[[บลิทซ์ครีค]]เพื่อทำลายล้างกองทัพโซเวียตทั้งหมด [[กองทัพกลุ่มเหนือ]]ของเยอรมันได้มุ่งหน้าสู่เลนินกราด [[กองทัพกลุ่มใต้]]เข้าควบคุม[[ยูเครน]] และ[[กองทัพกลุ่มกลาง]]เข้ารุกสู่มอสโก เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941 กองทัพกลุ่มกลางได้ข้าม[[แม่น้ำนีเปอร์]] ระหว่างเส้นทางสู่มอสโก{{sfn|Bellamy|2007|p=243}}

เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันได้เข้ายึดครอง[[ยุทธการที่สโมเลนสค์ (ค.ศ. 1941)|สโมเลนสค์]]ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสำคัญบนถนนสู่มอสโก{{sfn|Bellamy|2007|p=240}} ในระยะนี้ แม้ว่ามอสโกจะดูเปราะบาง แต่การรุกเข้าสู่เมืองจะเป็นการเปิดเผยปีกกองทัพของเยอรมัน เพื่อจัดการกับความเสี่ยงเหล่านี้ และเพื่อพยายามรักษาแหล่งทรัพยาการอย่างอาหารและแร่ธาตุของยูเครน ฮิตเลอร์ได้ออกคำสั่งให้การโจมตีหันไปทางเหนือและใต้ และกำจัดกองกำลังโซเวียตที่[[เลนินกราด]]และ[[เคียฟ]]<ref name="Wilt">Alan F. Wilt. "Hitler's Late Summer Pause in 1941". ''Military Affairs'', Vol. 45, No. 4 (December 1981), pp.&nbsp;187–91</ref> สิ่งนี้ทำให้การรุกเข้าสู่มอสโกของเยอรมันนั้นล่าช้า เมื่อการรุกนั้นได้กลับมาดำเนินต่อในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันได้อ่อนกำลังลง ในขณะที่โซเวียตได้จัดตั้งกองกำลังขึ้นมาใหม่เพื่อปกป้องเมือง<ref name="Wilt" />
[[ไฟล์:Karte_-_Kesselschlachte_bei_Vjazma_und_Brjansk_1941.png|thumb|แผนที่ของการโอบล้อมทั้งสองด้านที่เวียซมา-บรืย์อันสค์ (ในเยอรมัน).]]

== การรุกของเยอรมันในช่วงแรก (30 กันยายน - 10 ตุลาคม) ==

=== แผนการ ===
{{โครง-ส่วน}}

=== ยุทธการที่เวียซมาและบรืย์อันสค์ ===
{{โครง-ส่วน}}

== แนวป้องกัน Mozhaisk (13–30 ตุลาคม) ==
{{โครง-ส่วน}}

== แวร์มัคท์รุกเข้าสู่มอสโก (1 พฤศจิกายน-5 ธันวาคม) ==
{{โครง-ส่วน}}

== การรุกตอบโต้กลับของโซเวียต ==
{{โครง-ส่วน}}

== ภายหลังสงคราม ==
{{โครง-ส่วน}}

== มรดกตกทอด ==
{{โครง-ส่วน}}

== การสูญเสีย ==
{{โครง-ส่วน}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:42, 2 ตุลาคม 2564

ยุทธการที่มอสโก
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารโซเวียตกำลังใช้ปืนต่อสู้อากาศยานหาเครืองบินของลุฟท์วัฟเฟอใกล้จัตุรัสแดง
วันที่2 ตุลาคม 1941 – 7 มกราคม ค.ศ. 1942
สถานที่
เขตมอสโก สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย สหภาพโซเวียต
ผล โซเวียตได้รับชัยชนะเด็ดขาด
คู่สงคราม
 ไรช์เยอรมัน  สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

นาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์
นาซีเยอรมนี เฟดอร์ ฟอน บอค
นาซีเยอรมนี ไฮนซ์ กูเดเรียน
นาซีเยอรมนี อัลแบร์ท เค็สเซิลริง

นาซีเยอรมนี เอริช โฮอปป์เนอร์
สหภาพโซเวียต เกออร์กี จูคอฟ
สหภาพโซเวียต อะเลคซันดร์ วาซีเลฟสกี
กำลัง
ถึง 1 ตุลาคม 1941:
ทหาร 1,000,000 นาย
รถถัง 1,700 คัน
ปืนใหญ่ 14,000 กระบอก
อากาศยานขั้นต้น: ใช้การได้ 549 ลำ[1][2][3]
เมื่อโซเวียตตีโต้ตอบ: 599 ลำ[4]
ถึง 1 ตุลาคม 1941:
ทหาร 1,250,000 นาย
รถถัง 1,000 คัน
ปืนใหญ่ 7,600 กระบอก
อากาศยานขั้นต้น: 936 ลำ (ใช้การได้ 545 ลำ)[1]
เมื่อโซเวียตตีโต้ตอบ: 1,376 ลำ[4]
ความสูญเสีย
581,900 650,000–1,280,000

ยุทธการที่มอสโก เป็นการทัพทางทหารที่ประกอบไปด้วยสองช่วงเวลาของการสู้รบที่มีนัยสำคัญทางยุทธศาสตร์จากระยะทาง 600 กิโลเมตร(370 ไมล์) เขตภาคของแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นระหว่างเดือนตุลาคม ค.ศ. 1941 และเดือนมกราคม ค.ศ. 1942 ความพยายามในการป้องกันของโซเวียตทำให้การโจมตีของฮิตเลอร์ต่อกรุงมอสโก เมืองหลวงและเมืองขนาดใหญ่ที่สุดของสหภาพโซเวียต ไม่ประสบความสำเร็จ มอสโกเป็นหนึ่งในเป้าหมายหลักทางทหารและการเมืองสำหรับกองกำลังฝ่ายอักษะในการบุกครองสหภาพโซเวียตของพวกเขา

การรุกทางยุทธศาสตร์ของเยอรมัน รหัสนามว่า ปฏิบัติการไต้ฝุ่น เรียกร้องสำหรับการรุกแบบก้ามปูสองด้าน ด้านหนึ่งไปทางเหนือของมอสโกเข้าปะทะกับแนวรบคาลีนินโดยกองทัพยานเกราะที่ 3 และที่ 4 พร้อมกับตัดเส้นทางรถไฟจากมอสโก-เลนินกราด และอีกด้านหนึ่งไปทางใต้ของแคว้นมอสโกเข้าปะทะกับแนวรบตะวันตก ทางใต้ของตูลา โดยกองทัพยานเกราะที่ 2 ในขณะที่กองทัพยานเกราะที่ 4 ได้เข้ารุกโดยตรงสู่มอสโกจากตะวันตก

ในช่วงแรก กองกำลังโซเวียตได้ดำเนินการป้องกันทางยุทธศาสตร์ของแคว้นมอสโกโดยสร้างแนวป้องกันทางลึกสามแนว จัดตั้งกองกำลังสำรองขึ้นมาใหม่ และนำกองกำลังมาจากมณฑลทหารบกของไซบีเรียและตะวันออกไกล เมื่อการรุกของเยอรมันได้หยุดชะงักลง การรุกตอบโต้กลับทางยุทธศาสตร์ของโซเวียตและปฏิบัติการของการรุกขนาดเล็กได้บีบบังคับให้กองทัพเยอรมันได้กลับเข้าสู่ตำแหน่งรอบเมืองออร์ยอล เวียซมาและวีเต็บสค์ และเกือบที่จะล้อมกองทัพเยอรมันทั้งสามไว้ได้ มันเป็นความล้มเหลวครั้งใหญ่สำหรับเยอรมัน และจุดสิ้นสุดของความเชื่อของพวกเขาในชัยชนะของเยอรมันเหนือสหภาพโซเวียตอย่างรวดเร็ว[5] อันเป็นผลลัพธ์มาจากการรุกที่ล้มเหลว จอมพล วัลเทอร์ ฟ็อน เบราคิทช์ ถูกสั่งปลดออกจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพบกเยอรมัน โดยฮิตเลอร์ได้เข้ามาแทนที่ในตำแหน่งของเขา

เบื้องหลัง

แนวรบด้านตะวันออกในช่วงเวลาของยุทธการที่มอสโก:
  การรุกช่วงแรกของแวร์มัคท์ – ถึง 9 กรกฏาคม ค.ศ. 1941
  การรุกภายหลัง – ถึง 1 กันยายน ค.ศ. 1941
  การโอบล้อมและยุทธการที่เคียฟ ถึง 9 กันยายน ค.ศ. 1941
  การรุกครั้งสุดท้ายของแวร์มัคท์ – ถึง 5 ธันวาคม ค.ศ. 1941

ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา แผนการบุกครองของเยอรมัน เรียกร้องสำหรับการเข้ายึดครองกรุงมอสโกภายในสี่เดือน เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 กองกำลังฝ่ายอักษะได้เข้ารุกรานสหภาพโซเวียต ได้ทำลายกองทัพอากาศโซเวียตส่วนใหญ่บนภาคพื้นดิน และรุกเข้าลึกสู่ดินแดนสหภาพโซเวียตโดยใช้กลยุทธ์บลิทซ์ครีคเพื่อทำลายล้างกองทัพโซเวียตทั้งหมด กองทัพกลุ่มเหนือของเยอรมันได้มุ่งหน้าสู่เลนินกราด กองทัพกลุ่มใต้เข้าควบคุมยูเครน และกองทัพกลุ่มกลางเข้ารุกสู่มอสโก เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1941 กองทัพกลุ่มกลางได้ข้ามแม่น้ำนีเปอร์ ระหว่างเส้นทางสู่มอสโก[6]

เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันได้เข้ายึดครองสโมเลนสค์ซึ่งเป็นฐานที่มั่นสำคัญบนถนนสู่มอสโก[7] ในระยะนี้ แม้ว่ามอสโกจะดูเปราะบาง แต่การรุกเข้าสู่เมืองจะเป็นการเปิดเผยปีกกองทัพของเยอรมัน เพื่อจัดการกับความเสี่ยงเหล่านี้ และเพื่อพยายามรักษาแหล่งทรัพยาการอย่างอาหารและแร่ธาตุของยูเครน ฮิตเลอร์ได้ออกคำสั่งให้การโจมตีหันไปทางเหนือและใต้ และกำจัดกองกำลังโซเวียตที่เลนินกราดและเคียฟ[8] สิ่งนี้ทำให้การรุกเข้าสู่มอสโกของเยอรมันนั้นล่าช้า เมื่อการรุกนั้นได้กลับมาดำเนินต่อในวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1941 กองทัพเยอรมันได้อ่อนกำลังลง ในขณะที่โซเวียตได้จัดตั้งกองกำลังขึ้นมาใหม่เพื่อปกป้องเมือง[8]

แผนที่ของการโอบล้อมทั้งสองด้านที่เวียซมา-บรืย์อันสค์ (ในเยอรมัน).

การรุกของเยอรมันในช่วงแรก (30 กันยายน - 10 ตุลาคม)

แผนการ

ยุทธการที่เวียซมาและบรืย์อันสค์

แนวป้องกัน Mozhaisk (13–30 ตุลาคม)

แวร์มัคท์รุกเข้าสู่มอสโก (1 พฤศจิกายน-5 ธันวาคม)

การรุกตอบโต้กลับของโซเวียต

ภายหลังสงคราม

มรดกตกทอด

การสูญเสีย

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Bergström 2007 p.90.
  2. Williamson 1983, p.132.
  3. แหล่งข้อมูลทั้งสองใช้บันทึกลุฟท์วัฟเฟอ ตัวเลข 900-1,300 ลำที่มักอ้างไม่สอดคล้องกับรายงานผลกำลังของลุฟท์วัฟเฟอ แหล่งข้อมูล: Prien, J./Stremmer, G./Rodeike, P./ Bock, W. Die Jagdfliegerverbande der Deutschen Luftwaffe 1934 bis 1945, Teil 6/I and II; U.S National Archives, German Orders of Battle, Statistics of Quarter Years.
  4. 4.0 4.1 Bergström 2007, p. 111.
  5. Shirer, William L. "24, Swedish (Book III)". The Rise and Fall of the Third Reich. pp. 275–87.
  6. Bellamy 2007, p. 243.
  7. Bellamy 2007, p. 240.
  8. 8.0 8.1 Alan F. Wilt. "Hitler's Late Summer Pause in 1941". Military Affairs, Vol. 45, No. 4 (December 1981), pp. 187–91