ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ.เย.ยาดิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
}}
}}


'''เอ.เย.ยาดิน''' ({{lang-en|A.J.Jardine}}) เป็น[[รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ|อธิบดีกรมกองตระเวน]]คนที่ 3 ยาดินเป็น[[ชาวอังกฤษ]] ซึ่งเคยรับราชการเป็น ผู้บังคับการตำรวจใน[[ประเทศอินเดีย]] พ.ศ. 2440 ได้เดินทางเข้ามายัง[[ประเทศไทย]]เป็นครั้งแรก ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5<ref>[http://politic.myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=96678 เอ.เย.ยาดิน http://politic.myfirstinfo.com]</ref>ได้เข้ามารับราชการตำรวจไทยในตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับการกองตระเวน พ.ศ. 2440 [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้ เอ.เย.ยาดิน ดำรงตำแหน่งเป็นอธิบดีกรมกองตระเวนสืบต่อจาก[[พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)]] ยาดินได้ชักชวนเพื่อนชาวอังกฤษจากอินเดียมาร่วมงาน โดยได้ปรับปรุงกิจการตำรวจให้ก้าวหน้าขึ้นตามแนวทางตำรวจอินเดีย<ref>[http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/social04/11/content/k5-5.html พระปิยมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้สร้าง “ความเป็นปึกแผ่นแก่กิจการตำรวจ”]</ref>
'''เอ.เย.ยาดิน''' ({{lang-en|A.J.Jardine}}) เป็น[[รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ|อธิบดีกรมกองตระเวน]]คนที่ 3 ยาดินเป็น[[ชาวอังกฤษ]] ซึ่งเคยรับราชการเป็น ผู้บังคับการตำรวจใน[[ประเทศอินเดีย]] พ.ศ. 2440 ได้เดินทางเข้ามายัง[[ประเทศไทย]]เป็นครั้งแรก ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5<ref>[http://politic.myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=96678 เอ.เย.ยาดิน http://politic.myfirstinfo.com]</ref>ได้เข้ามารับราชการตำรวจไทยในตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับการกองตระเวน 5 มิถุนายน พ.ศ. 2440 [[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ]] ซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินในขณะนั้นมีพระราชเสาวนีย์ ให้ เอ.เย.ยาดิน ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ากรมหรืออธิบดีกรมกองตระเวน<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2440/011/140.PDF ประกาศกระทรวงนครบาล] </ref>สืบต่อจาก[[พระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)]] ยาดินได้ชักชวนเพื่อนชาวอังกฤษจากอินเดียมาร่วมงาน โดยได้ปรับปรุงกิจการตำรวจให้ก้าวหน้าขึ้นตามแนวทางตำรวจอินเดีย<ref>[http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/social04/11/content/k5-5.html พระปิยมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้สร้าง “ความเป็นปึกแผ่นแก่กิจการตำรวจ”]</ref>


ต่อมาในปี พ.ศ. 2447 เอ.เย.ยาดิน ได้กราบบังคบทูลลาออกจากราชการหลังเป็น[[รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ|อธิบดีกรมกองตระเวน]]ได้ 7 ปี เพื่อกลับอินเดีย [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงพระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้[[อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน|มหาอำมาตย์โท อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน]] ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกองตระเวนแทน<ref>[http://www.baanmaha.com/community/thread28978.html ผู้บังคับกองโปลิศคนที่สี่แห่งสยาม] - บ้านมหา</ref>
ต่อมาในปี พ.ศ. 2447 เอ.เย.ยาดิน ได้กราบบังคบทูลลาออกจากราชการหลังเป็น[[รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ|อธิบดีกรมกองตระเวน]]ได้ 7 ปี เพื่อกลับอินเดีย [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงพระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้[[อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน|มหาอำมาตย์โท อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน]] ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกองตระเวนแทน<ref>[http://www.baanmaha.com/community/thread28978.html ผู้บังคับกองโปลิศคนที่สี่แห่งสยาม] - บ้านมหา</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:02, 7 กรกฎาคม 2563

เอ.เย.ยาดิน
อธิบดีกรมกองตระเวน
ดำรงตำแหน่ง
พ.ศ. 2440 – พ.ศ. 2447
ก่อนหน้าพระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ)
ถัดไปอีริกเซ็นต์ เย ลอสัน

เอ.เย.ยาดิน (อังกฤษ: A.J.Jardine) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวนคนที่ 3 ยาดินเป็นชาวอังกฤษ ซึ่งเคยรับราชการเป็น ผู้บังคับการตำรวจในประเทศอินเดีย พ.ศ. 2440 ได้เดินทางเข้ามายังประเทศไทยเป็นครั้งแรก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5[1]ได้เข้ามารับราชการตำรวจไทยในตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับการกองตระเวน 5 มิถุนายน พ.ศ. 2440 สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินในขณะนั้นมีพระราชเสาวนีย์ ให้ เอ.เย.ยาดิน ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ากรมหรืออธิบดีกรมกองตระเวน[2]สืบต่อจากพระยาอรรคราชวราทร (ภัสดา บุรณศิริ) ยาดินได้ชักชวนเพื่อนชาวอังกฤษจากอินเดียมาร่วมงาน โดยได้ปรับปรุงกิจการตำรวจให้ก้าวหน้าขึ้นตามแนวทางตำรวจอินเดีย[3]

ต่อมาในปี พ.ศ. 2447 เอ.เย.ยาดิน ได้กราบบังคบทูลลาออกจากราชการหลังเป็นอธิบดีกรมกองตระเวนได้ 7 ปี เพื่อกลับอินเดีย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานโปรดเกล้าฯ ให้มหาอำมาตย์โท อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกองตระเวนแทน[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง