ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานพระราม 7"

พิกัด: 13°48′50″N 100°30′52″E / 13.813775°N 100.514442°E / 13.813775; 100.514442
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Watcharakorn (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8306676 สร้างโดย 171.98.17.82 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล สะพาน
{{กล่องข้อมูล สะพาน
| bridge_name = สะพานพระราม 7 (สะพานมงคลกิตติ์)
| bridge_name = สะพานพระราม 7
| native_name =
| native_name =
| image = Rama VII Bridge (downstream, west bank of Chao Phraya River).JPG
| image = Rama VII Bridge (downstream, west bank of Chao Phraya River).JPG
| image_size = 300
| image_size = 300
| bridge_name = สะพานพระราม 7 (สะพานมงคลกิตติ์)
| bridge_name = สะพานพระราม 7
| caption = สะพานพระราม 7
| caption = สะพานพระราม 7
| official_name = สะพานพระราม 7
| official_name = สะพานพระราม 7
| carries = [[ถนนจรัญสนิทวงศ์]], ถนนวงศ์สว่าง
| carries = [[ถนนจรัญสนิทวงศ์]], ถนนวงศ์สว่าง
| crosses = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| crosses = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:47, 4 มิถุนายน 2562

สะพานพระราม 7
สะพานพระราม 7
เส้นทางถนนจรัญสนิทวงศ์, ถนนวงศ์สว่าง
ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
ที่ตั้งตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี, แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ชื่อทางการสะพานพระราม 7
ผู้ดูแลกรมทางหลวงชนบท
เหนือน้ำสะพานพระราม 5
ท้ายน้ำสะพานพระราม 6
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานชนิดต่อเนื่อง
วัสดุคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง
ความยาว290 เมตร
ความกว้าง29.10 เมตร
ความสูง8.90 เมตร
ช่วงยาวที่สุด120.00 เมตร
จำนวนช่วง3
ประวัติ
วันเริ่มสร้าง18 มกราคม พ.ศ. 2533
วันสร้างเสร็จ23 กันยายน พ.ศ. 2535
ที่ตั้ง
แผนที่

สะพานพระราม 7 (อังกฤษ: Rama VII Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี กับแขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร

สะพานพระราม 7 เป็นสะพานแบบคอนกรีตอัดแรงชนิดต่อเนื่อง มีจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องทางจราจร ความกว้างของสะพาน 29.10 เมตร และมีความยาว 934 เมตร สร้างเสร็จและเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 มีนายมานะ มหาสุวีระชัย เป็นผู้อำนวยการโครงการ โดยเปิดใช้เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแทนสะพานพระราม 6 ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท

ข้อมูลทั่วไป

  • วันที่ทำการก่อสร้าง : วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2533
  • วันเปิดการจราจร : วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535
  • บริษัทที่ทำการก่อสร้าง : บริษัท สุมิโตโม คอนสตรัคชั่น จำกัด, บริษัท โอบายาชิ คอร์โปเรชั่น จำกัด และบริษัท นันทวัน จำกัด
  • ราคาค่าก่อสร้าง : 1,008,000,000 บาท
  • แบบของสะพาน : เป็นสะพานชนิดต่อเนื่อง
  • โครงสร้างส่วนบน : คานคอนกรีตอัดแรงรูปกล่อง
  • สูงจากระดับน้ำ : 8.90 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
  • จำนวนช่วงสะพานกลางน้ำ : 3 ช่วง (85.00+120.00+85.00)
  • ความกว้างของสะพาน : 29.10 เมตร (2 * 14.55)
  • ความยาวของสะพาน : 290 เมตร
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งธนบุรี : 335.87 เมตร
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งพระนคร : 184.80 เมตร
  • รวมความยาวทั้งหมด : 933.19 เมตร
  • จำนวนช่องทางวิ่ง 6 ช่องทางจราจร : (ด้านละ 3 ช่องจราจร)
  • ความกว้างผิวจราจรสะพาน : 19.50 เมตร(6 * 3.25 )
  • ความกว้างของสะพาน : 29.10 เมตร
  • ความกว้างของทางเท้าแต่ละด้าน : 2.50 เมตร (มีเฉพาะด้านทิศใต้(ด้านซ้ายของฝั่งพระนครหรือด้านขวาของฝั่งธนบุรี))
  • ออกแบบรับน้ำหนัก : H-20-44
  • จำนวนช่องทางวิ่ง : 3 ช่องทางจราจร (ของแต่ละสะพาน)
  • ความกว้างช่องละ : 3.25 เมตร
  • ทางเท้ากว้าง : 2.50 เมตร

แหล่งข้อมูลอื่น

13°48′50″N 100°30′52″E / 13.813775°N 100.514442°E / 13.813775; 100.514442

ดูเพิ่ม

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน
เหนือน้ำ
สะพานพระราม 5
สะพานพระราม 7
ท้ายน้ำ
สะพานพระราม 6