ท่าเรือปากเกร็ด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่าเรือปากเกร็ด
PakKredPierPhotoFeb2008.jpg
ท่าเรือปากเกร็ดในปี พ.ศ. 2551
ประเภทท่าเรือโดยสาร
ประเภทเรือเรือด่วน, เรือข้ามฟาก
โครงสร้างท่าโป๊ะเหล็กเชื่อมต่อแนวทางเดิน
ที่ตั้งอำเภอปากเกร็ด, จังหวัดนนทบุรี
ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา
ชื่อทางการท่าปากเกร็ด (โดยกรมเจ้าท่า)
เจ้าของเอกชน
ผู้ดำเนินงาน ● เรือด่วนเจ้าพระยา
ค่าโดยสาร ● เรือด่วนเจ้าพระยา
 ธงเขียวเหลือง  14-33 บาท
ข้อมูลเฉพาะ
รหัสท่า น33 (N33) 
โครงสร้างหลักโป๊ะเหล็ก
ความยาว2.40
ความกว้าง1.90

ท่าเรือปากเกร็ด (อังกฤษ: Pak Kret Pier; รหัส: น33, N33) หรือ ท่าน้ำแจ้งวัฒนะ หรือ ท่าน้ำสะพานพระราม 4 เป็นท่าน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยาหลายท่าใกล้เคียงกัน บริเวณด้านล่างสะพานพระราม 4 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยท่าเรือด่วนเจ้าพระยา และท่าเรือข้ามฟาก

ความสำคัญ[แก้]

ท่าเรือปากเกร็ด เป็นท่าเรือที่มีเรือด่วนเจ้าพระยาหลายสายมาจอด เนื่องจากเป็นจุดเชื่อมต่อการคมนาคมระหว่าง อำเภอปากเกร็ด อำเภอเมืองนนทบุรี และ กรุงเทพมหานคร และยังเป็นท่าเรือปลายทางของเรือด่วนเจ้าพระยาอีกด้วย

สถานที่สำคัญ[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

ท่าเรือปากเกร็ด ประกอบไปด้วยโครงสร้างแบบโป๊ะเหล็กเชื่อมต่อแนวทางเดิน โดยมีโป๊ะเหล็กขนาดกว้าง 1.90 เมตร ยาว 2.40 เมตร[1]

ท่าเรือด่วนเจ้าพระยา[แก้]

ท่าเรือปากเกร็ด, รหัส: น33 (อังกฤษ: Pak Kret Pier, code: N33) มี 2 ท่า ประกอบด้วย

ท่าเรือใกล้เคียง[แก้]

ท่าก่อนหน้า เส้นทางเดินเรือ ท่าต่อไป
ต้นสาย   เรือด่วนเจ้าพระยา
ท่าเรือปากเกร็ด
  ท่าวัดกลางเกร็ด
ปลายทาง ท่าวัดราชสิงขร
    ท่าวัดกลางเกร็ด
ปลายทาง ท่าวัดราชสิงขร
ต้นสาย   เรือด่วนพิเศษธงเหลือง   ท่าวัดกลางเกร็ด
ปลายทาง ท่าราษฎร์บูรณะ
ต้นสาย   เรือด่วนพิเศษธงฟ้า   []
ปลายทาง ท่าสาทร
ต้นสาย   เรือด่วนพิเศษธงเขียว   ท่าวัดกลางเกร็ด
ปลายทาง ท่าสาทร

ท่าเรือข้ามฟาก[แก้]

ท่าเรือปากเกร็ด บริเวณด้านหน้า มีเรือ 2 เส้นทางหมุนเวียนให้บริการในท่าเดียวกัน โดยแยกเป็นโป๊ะด้านทิศเหนือสำหรับผู้โดยสารลงเรือ และด้านทิศใต้สำหรับผู้โดยสารขี้นจากเรือ

การเชื่อมต่อรถโดยสาร[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°54′54″N 100°29′41″E / 13.914940°N 100.494700°E / 13.914940; 100.494700