ข้ามไปเนื้อหา

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2567

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2567

← 2566   2568 →

จำนวนทั้งสิ้น 25 จังหวัดที่มีการเลือกตั้ง
  First party Second party Third party
 
พรรค เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ กลุ่มการเมืองอื่น
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2
จังหวัดที่ชนะ 3 13

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.) ทั้งสิ้น 25 จังหวัด สืบเนื่องจากนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดจำนวน 25 คน ลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระ

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเลือกตั้ง

[แก้]
รูปแบบ ความหมาย
ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ
กกต./ศาลอุทธรณ์ สั่งให้มีการเลือกตั้งนายก อบจ.ใหม่
สี พรรค
พรรคเพื่อไทย
พรรคภูมิใจไทย
พรรคพลังประชารัฐ
พรรครวมไทยสร้างชาติ
พรรคประชาธิปัตย์

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กำแพงเพชร
ขอนแก่น วัฒนา ช่างเหลา กลุ่มศิลาพัฒนา อยู่ระหว่างการรับรองจาก กกต.
ชัยนาท จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา ผู้สมัครอิสระ
ชัยภูมิ สุรีวรรณ นาคาศัย ผู้สมัครอิสระ
ชุมพร นพพร อุสิทธิ์ กลุ่มพลังชุมพร อยู่ระหว่างการรับรองจาก กกต.
ตาก
นครสวรรค์ พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ กลุ่มนครสวรรค์บ้านเรา
นครศรีธรรมราช
ปทุมธานี ชาญ พวงเพ็ชร์ พรรคเพื่อไทย ได้รับใบเหลืองก่อนดำรงตำแหน่งฯ[1]
พลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง กลุ่มคนรักปทุม เลือกตั้งซ่อม
พะเยา ธวัช สุทธวงค์ พรรคเพื่อไทย
พระนครศรีอยุธยา สมทรง พันธ์เจริญวรกุล ผู้สมัครอิสระ
พิษณุโลก มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ กลุ่มพลังพิษณุโลก
เพชรบุรี
เพชรบูรณ์
ยโสธร วิเชียร สมวงศ์ พรรคเพื่อไทย
ระนอง สีหราช สรรพกุล กลุ่มระนองก้าวหน้า
ราชบุรี วิวัฒน์ นิติกาญจนา กลุ่มพัฒนาราชบุรี
เลย ชัยธวัช เนียมศิริ กลุ่มพัฒนา
สุรินทร์
สุโขทัย มนู พุกประเสริฐ พรรคเพื่อไทย อยู่ระหว่างการรับรองจาก กกต.
อ่างทอง สุรเชษ นิ่มกุล กลุ่มสำนึกรักบ้านเกิด
อุดรธานี
อุตรดิตถ์
อุทัยธานี เผด็จ นุ้ยปรี กลุ่มคุณธรรม
อุบลราชธานี

การเลือกตั้ง

[แก้]

เรียงลำดับตามวันที่จัดการเลือกตั้ง

เลย

[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย สืบเนื่องจากธนาวุฒิ ทิมสุวรรณ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลยได้ลาออกจากตำแหน่ง[2] โดยมีผู้สมัครทั้งหมด 4 ราย ดังนี้

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า ชัยธวัช เนียมศิริ ได้รับเลือกตั้ง[3] และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2567[4]

คะแนนเสียง
ชัยธวัช
  
46.61%
จีระศักดิ์
  
38.68%
นาวิน
  
3.34%
ชวลิตย์
  
1.20%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพัฒนา ชัยธวัช เนียมศิริ (1) 119,334 46.61
อิสระ จีระศักดิ์ น้อยก่ำ (2) 99,031 38.68
อิสระ นาวิน วังคีรี (3) 8,544 3.34
อิสระ ชวลิตย์ น้อยดี (4) 3,060 1.20
ผลรวม 256,011 100.00
บัตรดี 229,969 89.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 15,304 5.98
บัตรเสีย 10,738 4.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 256,011 51.15
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 500,509 100.00
กลุ่มพัฒนา รักษาที่นั่ง


นครสวรรค์

[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567[5] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ สืบเนื่องจากพลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดกลุ่มนครสวรรค์บ้านเรา
  • หมายเลข 2 ร้อยตํารวจโท ธรัตนชัย เฉลยคาม อดีตผู้สมัคร สส.นครสวรรค์ เขต 6 พรรคก้าวไกล สังกัดอิสระ[6][a] (ขาดคุณสมบัติ)
  • หมายเลข 3 ขนิษฐา ดอกไม้ทอง เจ้าของสำนักงานบัญชี[7]

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ ได้รับการดำรงตำแหน่งอีกสมัย และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2567[8]


คะแนนเสียง
สมศักดิ์
  
80.16%
ขนิษฐา
  
19.84%


ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มนครสวรรค์บ้านเรา พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ (1)* 198,501 80.16
อิสระ ขนิษฐา ดอกไม้ทอง (3) 49,130 19.84
อิสระ ร้อยตํารวจโท ธรัตนชัย เฉลยคาม (2)
ผลรวม 247,631 100.00
บัตรดี 247,631 79.66 %
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 29,750 9.57 %
บัตรเสีย 33,461 10.76 %
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 310,842 37.59 %
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 826,864 100.00
กลุ่มนครสวรรค์บ้านเรา รักษาที่นั่ง


อ่างทอง

[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567[9] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง สืบเนื่องจากสุรเชษ นิ่มกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทองได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 สุรเชษ นิ่มกุล อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง[10] กลุ่มสำนึกรักบ้านเกิด

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า สุรเชษ นิ่มกุล ได้รับการดำรงตำแหน่งอีกสมัย

ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2567[11]
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มสำนึกรักบ้านเกิด สุรเชษ นิ่มกุล (1)* 82,741 100.00 + 43.42
ผลรวม 82,741 100.00
บัตรดี 82,741 79.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,919 14.41
บัตรเสีย 5,841 5.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,501 46.84
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 220,977 100.00
กลุ่มสำนึกรักบ้านเกิด รักษาที่นั่ง


ปทุมธานี ครั้งที่ 1

[แก้]

จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี สืบเนื่องจากพลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีได้ลาออกจากตำแหน่ง[12] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ชาญ
  
47.40%
คำรณวิทย์
  
46.97%
นพดล
  
3.97%
อธิวัฒน์
  
1.66%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี มิถุนายน พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ชาญ พวงเพ็ชร์ (1)✔ 203,032 47.40 +4.94
กลุ่มคนรักปทุม พลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง (3)* 201,212 46.97 -1.28
อิสระ นพดล ลัดดาแย้ม (4) 16,983 3.97
อิสระ อธิวัฒน์ สอนเนย (2) 7,122 1.66
ผลรวม 428,349 100.00
บัตรดี 428,349 90.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 32,885 6.96
บัตรเสีย 11,302 2.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 472,536 49.77
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 949,421 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก กลุ่มคนรักปทุม


ต่อมา คณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติให้ใบเหลืองกับผู้สมัครที่ได้รับเลือกตั้ง ส่งผลให้ต้องมีการจัดการเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

พะเยา

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567[13] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา สืบเนื่องจาก อัครา พรหมเผ่า นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยาได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 ชัยประพันธ์ สิงห์ชัย อดีตผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2563 คณะก้าวหน้า และอดีตผู้สมัคร สส.พะเยา เขต 3 พรรคก้าวไกล ลงสมัครในฐานะกลุ่มพะเยาก้าวไกล
  • หมายเลข 2 ธวัช สุทธวงค์ อดีตรองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา และอดีตผู้สมัคร สส.พะเยา เขต 2 พรรคพลังประชารัฐ พ.ศ. 2562 สังกัด พรรคเพื่อไทย โดยมี อัครา พรหมเผ่า อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยาให้การสนับสนุน โดยได้ชี้แจงว่า ตนเองไม่ได้ลงสมัครนายก อบจ.พะเยาในครั้งนี้ แต่ได้มอบให้ อดีตรองนายก อบจ.พะเยา ลงสมัครแทน ส่วนตนเองนั้นจะไปเล่นการเมืองในระดับสูงขึ้นไป หรือการเมืองระดับชาติ[14]

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า ธวัช สุทธวงค์ ได้รับการดำรงตำแหน่ง และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2567[15]

คะแนนเสียง
ธวัช
  
83.41%
ชัยประพันธ์
  
16.59%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ธวัช สุทธวงค์ (2) 175,128 83.41
กลุ่มพะเยาก้าวไกล ชัยประพันธ์ สิงห์ชัย (1) 34,826 16.59
ผลรวม 209,954 100.00
บัตรดี 209,954 89.44
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,898 6.35
บัตรเสีย 9,893 4.21
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 234,745 61.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 380,091 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

พระนครศรีอยุธยา

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567[16] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สืบเนื่องจาก สมทรง พันธ์เจริญวรกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ลาออกจากตำแหน่ง[17] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้[18]

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า สมทรง พันธ์เจริญวรกุล ได้รับการดำรงตำแหน่งอีกสมัย และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2567

คะแนนเสียง
สมทรง
  
68.14%
วัชรพงศ์
  
31.86%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ สมทรง พันธ์เจริญวรกุล (2)* 245,381 68.14
กลุ่มก้าวใหม่อยุธยา วัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์ (1) 114,746 31.86
ผลรวม 360,127 100.00
บัตรดี 360,127 54.78
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 17,921 2.73
บัตรเสีย 13,074 1.99
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 391,122 59.49
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 657,465 100.00

ชัยนาท

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาท สืบเนื่องจาก อนุสรณ์ นาคาศัย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาทได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้[19]

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา ได้รับการดำรงตำแหน่ง และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2567

คะแนนเสียง
จิตร์ธนา
  
52.78%
สุทธิพจน์
  
37.58%
ปัญญา
  
9.64%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา (1) 63,485 52.78
อิสระ สุทธิพจน์ เชื้ออภัยวงษ์ (3) 45,202 37.58
กลุ่มก้าวใหม่ชัยนาท ปัญญา ไทยรัตนกุล (2) 11,597 9.64
ผลรวม 120,284 100.00
บัตรดี 120,284 89.80
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,814 5.83
บัตรเสีย 5,854 4.37
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 133,952 51.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 258,002 100.00

ชัยภูมิ

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2567[20] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ สืบเนื่องจาก อร่าม โล่ห์วีระ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิได้ลาออกจากตำแหน่ง โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้[21]

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า สุรีวรรณ นาคาศัย ได้รับการดำรงตำแหน่ง

คะแนนเสียง
สุรีวรรณ
  
42.96%
อร่าม
  
36.42%
จารุวรรณ
  
19.26%
พสิษฐ์
  
0.96%
วรวุฒิ
  
0.41%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ สุรีวรรณ นาคาศัย (1) 210,103 42.96
อิสระ อร่าม โล่ห์วีระ (3)* 178,129 36.42 -20.35
อิสระ จารุวรรณ จังหวะ (2) 94,198 19.26
อิสระ วรวุฒิ ประภามณฑล (5) 4,673 0.96
อิสระ ว่าที่ร้อยตรี พสิษฐ์ คำชัย (4) 1,998 0.41
ผลรวม 489,096 100.00
บัตรดี 489,096
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

พิษณุโลก

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก สืบเนื่องจาก มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลกได้ลาออกจากตำแหน่ง[22] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ ได้รับการดำรงตำแหน่ง

คะแนนเสียง
มนต์ชัย
  
64.56%
สิริพรรณ
  
31.35%
เศรษฐา
  
4.09%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพลังพิษณุโลก มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ (1)* 214,519 64.56
กลุ่มก้าวใหม่พิษณุโลก สิริพรรณ คุณประจักษ์นุกูล (3) 104,163 31.35
อิสระ เศรษฐา กิตติจารุรัตน์ (2) 13,579 4.09
ผลรวม 332,261 100.00
บัตรดี 332,261 91.88
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 15,613 4.32
บัตรเสีย 13,768 3.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 361,642 53.33
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 677,923 100.00

ราชบุรี

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2567[23] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดราชบุรี สืบเนื่องจาก วิวัฒน์ นิติกาญจนา นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดราชบุรีได้ลาออกจากตำแหน่ง[24] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

  • หมายเลข 1 ชัยรัตน์ ศักดิ์อิสระพงศ์ ผู้สมัครสังกัด พรรคประชาชน[25] เดิมชัยรัตน์สังกัด พรรคก้าวไกล ซึ่งนับว่าเป็นผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดคนเดียวของพรรคก้าวไกลที่ลงสมัครรับเลือกตั้งอย่างเป็นทางการก่อนที่พรรคจะถูกยุบ และเป็นผู้สมัครคนแรกของพรรคประชาชนที่ลงสมัครรับเลือกตั้ง
  • หมายเลข 2 วิวัฒน์ นิติกาญจนา อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดราชบุรี สังกัดกลุ่มพัฒนาราชบุรี

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า วิวัฒน์ นิติกาญจนา ได้รับการดำรงตำแหน่ง และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2567[26]

คะแนนเสียง
วิวัฒน์
  
58.01%
ชัยรัตน์
  
41.99%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพัฒนาราชบุรี วิวัฒน์ นิติกาญจนา (2)* 242,297 58.01
ประชาชน ชัยรัตน์ ศักดิ์อิสระพงศ์ (1) 175,353 41.99
ผลรวม 417,650 100.00
บัตรดี 417,650 91.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 21,250 4.67
บัตรเสีย 16,500 3.62
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 455,400 67.31
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 676,526 100.00
กลุ่มพัฒนาราชบุรี รักษาที่นั่ง


ชุมพร

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2567[27] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร สืบเนื่องจาก นพพร อุสิทธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพรได้ลาออกจากตำแหน่ง[28] โดยมีผู้สมัครเพียงคนเดียว ดังนี้

  • หมายเลข 1 นพพร อุสิทธิ์ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร สังกัดกลุ่มพลังชุมพร[29]
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพลังชุมพร นพพร อุสิทธิ์ (1)* 156,141 100.00 +55.26
ผลรวม 156,141 100.00
บัตรดี 156,141 81.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 27,564 14.34
บัตรเสีย 8,547 4.45
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 192,252 47.95
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 400,968 100.00

ปทุมธานี ครั้งที่ 2

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2567[30] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีครั้งที่สองในปีเดียวกัน สืบเนื่องจาก ชาญ พวงเพ็ชร์ ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับเลือกตั้งในรอบที่ผ่านมา ถูกคณะกรรมการการเลือกตั้งมีมติให้ใบเหลือง เหตุจัดเลี้ยงและมหรสพเพื่อจูงใจให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนให้ตัวเองนั้น เป็นเหตุอันควรเชื่อได้ว่าการเลือกตั้งนายก อบจ.ปทุมธานี ในรอบที่ผ่านมานั้น มิได้เป็นไปโดยสุจริตหรือเที่ยงธรรม[31]

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง โดยมีผู้สมัครดังต่อไปนี้

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า พลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ได้รับการดำรงตำแหน่ง และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2567[32]

คะแนนเสียง
คำรณวิทย์
  
57.77%
ชาญ
  
36.88%
นพดล
  
2.99%
อธิวัฒน์
  
2.36%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มคนรักปทุม พลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง (3)✔ 187,975 57.77 +10.80
เพื่อไทย ชาญ พวงเพ็ชร์ (1)* 120,007 36.88 -10.52
อิสระ นพดล ลัดดาแย้ม (4) 9,736 2.99 -0.97
อิสระ อธิวัฒน์ สอนเนย (2) 7,675 2.36 +0.70
ผลรวม 325,393 100.00
บัตรดี 325,393 90.97
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 25,044 7.00
บัตรเสีย 7,258 2.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 357,695 37.52
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 953,302 100.00

ยโสธร

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดยโสธร สืบเนื่องจาก วิเชียร สมวงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดยโสธรได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567[33] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
วิเชียร
  
89.56%
ทำจริง
  
5.04%
สพรั่งศักดิ์
  
3.14%
หน่ำ
  
2.26%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดยโสธร พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วิเชียร สมวงศ์ (1)* 169,068 89.56 +34.30
กลุ่มประชาชนรักยโสธร ทำจริง เจจริงใจ (3) 9,518 5.04 +2.02
อิสระ สพรั่งศักดิ์ สิงหา (2) 5,921 3.14
อิสระ หน่ำ จึงเป็นสุข (4) 4,274 2.26
ผลรวม 188,781 100.00
บัตรดี 188,781 88.10
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 18,071 8.43
บัตรเสีย 7,432 3.47
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 214,285 50.20
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 426,868 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

ระนอง

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง สืบเนื่องจาก ธนกร บริสุทธิญาณี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนองได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2567[34] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
สีหราช
  
55.41%
ธนกร
  
39.49%
คุณัญญา
  
5.10%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มระนองก้าวหน้า สีหราช สรรพกุล (2) 34,600 55.41
กลุ่มรวมพลังระนอง ธนกร บริสุทธิญาณี (1)* 24,654 39.49 –14.52
กลุ่มระนองก้าวไกล คุณัญญา สองสมุทร (3) 3,184 5.10
ผลรวม 62,438 100.00
บัตรดี 62,438 89.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,670 6.70
บัตรเสีย 2,635 3.78
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 69,743 50.10
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,215 100.00
กลุ่มระนองก้าวหน้า ได้ที่นั่งจาก กลุ่มรวมพลังระนอง


อุทัยธานี

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี สืบเนื่องจาก เผด็จ นุ้ยปรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานีได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2567[35][36] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า เผด็จ นุ้ยปรี ได้รับการดำรงตำแหน่ง และคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้รับรองการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2567[37]

ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุทัยธานี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มคุณธรรม เผด็จ นุ้ยปรี (1)* 108,243 100.00
ผลรวม 108,243 100.00
บัตรดี 108,243 88.38
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,798 7.18
บัตรเสีย 5,434 4.44
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 122,475 47.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 257,377 100.00

ขอนแก่น

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567[38] เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น สืบเนื่องจาก พงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่นได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2567[39] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
วัฒนา
  
49.89%
พงษ์ศักดิ์
  
43.71%
โตบูรพา
  
6.40%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มศิลาพัฒนา วัฒนา ช่างเหลา (1) 330,922 49.89
อิสระ พงษ์ศักดิ์ ตั้งวานิชกพงษ์ (2)* 289,908 43.71 –5.54
กลุ่มวันนี้เพื่อขอนแก่น โตบูรพา สิมมาทัน (3) 42,431 6.40
อิสระ ณัฏฐ์ ก้อนคำ (4)†
ผลรวม 663,261 100.00
บัตรดี 663,261 91.84
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 33,339 4.62
บัตรเสีย 25,558 3.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 722,158 50.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 1,436,069 100.00

สุโขทัย

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัย สืบเนื่องจาก มนู พุกประเสริฐ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัยได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2567[40] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
มนู
  
66.28%
โด่ง
  
18.73%
วศินภัทร์
  
14.99%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัย พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย มนู พุกประเสริฐ (1)* 142,523 66.28 +5.93
อิสระ โด่ง แสวงลาภ (2) 40,267 18.73
กลุ่มก้าวเปลี่ยนสุโขทัย วศินภัทร์ กิตตินันท์พาณิช (3) 32,232 14.99
ผลรวม 215,022 100.00
บัตรดี 215,022 89.27
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 16,373 6.80
บัตรเสีย 9,482 3.94
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 240,877 50.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 473,091 100.00

สุรินทร์

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ สืบเนื่องจาก พรชัย มุ่งเจริญพร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2567 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ธัญพร
  
100.00%
พรชัย
  
100.00%
นัทธมน
  
100.00%
ภัทรพล
  
100.00%
ฉลอง
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ ธัญพร มุ่งเจริญพร (1)
กลุ่มสุรินทร์รวมใจ พรชัย มุ่งเจริญพร (2)*
อิสระ นัทธมน ศิริวัฒนวานิช (3)
อิสระ ภัทรพล หงษ์สูง (4)
อิสระ ฉลอง สัตตรัตนามัย (5)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

นครศรีธรรมราช

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช สืบเนื่องจาก กนกพร เดชเดโช นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2567 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
กนกพร
  
100.00%
วาริน
  
100.00%
อาญาสิทธิ์
  
100.00%
สัณหพจน์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพลังเมืองนคร กนกพร เดชเดโช (1)*
กลุ่มนครเข้มแข็ง วาริน ชิณวงศ์ (2)
กลุ่มนครก้าวหน้า อาญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ (3)
กลุ่มนครก้าวใหม่ สัณหพจน์ สุขศรีเมือง (4)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

เพชรบุรี

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบุรี สืบเนื่องจาก ชัยยะ อังกินันทน์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบุรีได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2567 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ชัยยะ
  
100.00%
กฤษณ์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มรวมใจเพชร ชัยยะ อังกินันทน์ (1)*
อิสระ กฤษณ์ แก้วอยู่ (2)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

อุดรธานี

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี สืบเนื่องจาก วิเชียร ขาวขำ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานีได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2567 ด้วยเหตุผลด้านสุขภาพ[44] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
คณิศร
  
100.00%
ศราวุธ
  
100.00%
ดนุช
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชน คณิศร ขุริรัง (1)
เพื่อไทย ศราวุธ เพชรพนมพร (2)
กลุ่มวิถีใหม่ ดนุช ตันเทอดทิตย์ (3)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

กำแพงเพชร

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร สืบเนื่องจาก สุนทร รัตนากร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชรได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2567 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
สุนทร
  
100.00%
ธานันท์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มกำแพงเพชรสามัคคี สุนทร รัตนากร (1)*
กลุ่มประชาชนฅนกำแพงเพชร ธานันท์ หล่าวเจริญ (2)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ตาก

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก สืบเนื่องจาก ณัฐวุฒิ ทวีเกื้อกูลกิจ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตากได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2567 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
อัจฉรา
  
100.00%
อนุรักษ์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพัฒนาตาก อัจฉรา ทวีเกื้อกูลกิจ (1)
กลุ่มคนพันธุ์ตาก พันตำรวจโท อนุรักษ์ จิรจิตร (2)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

เพชรบูรณ์

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ สืบเนื่องจาก อัครเดช ทองใจสด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2567 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
อัครเดช
  
100.00%
ธิปไตย
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ อัครเดช ทองใจสด (1)*
อิสระ ธิปไตย แสงรัก (2)
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

อุตรดิตถ์

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ สืบเนื่องจาก ชัยศิริ ศุภรักษ์จินดา นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2567[46] โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ชัยศิริ
  
100.00%
โปรย
  
100.00%
สหวิช
  
100.00%
พีระศักดิ์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มรักอุตรดิตถ์บ้านเรา ชัยศิริ ศุภรักษ์จินดา (1)*
อิสระ โปรย สมบัติ (2)
กลุ่มคนรักอุตรดิตถ์ สหวิช อภิชัยวิศรุตกุล ()
อิสระ พีระศักดิ์ พอจิต ()✔
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

อุบลราชธานี

[แก้]

จัดขึ้นในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี สืบเนื่องจาก กานต์ กัลป์ตินันท์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานีได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2567[49] โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
กานต์
  
100.00%
สิทธิพล
  
100.00%
จิตรวรรณ
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2567
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย กานต์ กัลป์ตินันท์ ()*
ประชาชน สิทธิพล เลาหะวนิช ()
อิสระ จิตรวรรณ หวังศุภกิจโกศล ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

หลังการเลือกตั้ง

[แก้]

หลังการเลือกตั้ง มีการร้องเรียนผู้สมัครนายก อบจ. ที่ได้รับเลือกตั้ง รวมถึงการวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ดังต่อไปนี้

รูปแบบ ความหมาย
กกต./ศาลอุทธรณ์ สั่งให้มีการเลือกตั้งนายก อบจ.ใหม่
เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง-ดำเนินคดีอาญา
เพิกถอนสิทธิสมัคร-ดำเนินคดีอาญา
ลำดับ นาม จังหวัด คำร้อง และข้อกล่าวหา มติ กกต. หมายเหตุ
1 สุรเชษ นิ่มกุล อ่างทอง ใช้งบจัดเลี้ยง แจกของก่อนลาออก 90 วัน[50]
2 ชาญ พวงเพ็ชร์ ปทุมธานี จัดเลี้ยงและมหรสพเพื่อจูงใจให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนให้ตัวเอง กกต. มีมติไม่รับรองผลการเลือกตั้งที่ผ่านมา และสั่งให้เลือกตั้งซ่อม
3 วิวัฒน์ นิติกาญจนา ราชบุรี การซื้อเสียง[51]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. เดิมมีตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญประจำตัว สส.ของพรรค แต่เพื่อให้เป็นไปตามมติของพรรคก้าวไกล ที่จะไม่ส่งผู้สมัครชิงตำแหน่งนายก อบจ.นครสวรรค์ และผู้ที่มีตำแหน่งในพรรคไม่อาจลงสมัครแข่งขันในการเลือกตั้งครั้งนี้ได้ จึงลาออกจากตำแหน่งเพื่อมาลงสมัครในนามส่วนตัว

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "กกต.สั่งเลือกตั้งใหม่ อบจ.ปทุมธานี "ชาญ พวงเพ็ชร์" โดนใบเหลือง". 2024-08-27.
  2. "นายก อบจ.เลย (นายกอาร์ท) ขอลาออกจากตำแหน่ง". อปท.นิวส์. 2024-02-07.
  3. "อดีตผู้ว่าฯ เลย "ชัยธวัช เนียมศิริ" ชนะขาด ได้นั่งเก้าอี้นายก อบจ.เลยสมใจ". mgronline.com. 2024-04-01.
  4. กกต.ประกาศรับรอง ‘ชัยธวัช เนียมศิริ’ อดีตผู้ว่าฯ นั่งนายกอบจ.เลย
  5. เคาะ 23 มิ.ย. เลือกตั้งใหม่ นายก อบจ.นครสวรรค์ เริ่มรับสมัคร 13 พ.ค. หลัง สมศักดิ์ ลาออก
  6. ""รองหมู" ไขก๊อก พ้นอกก้าวไกล ลงสมัครอิสระ ชิง อบจ.ปากน้ำโพ คว้าเบอร์ 2". www.thairath.co.th. 2024-05-14.
  7. "สมัครนายอบจ.นครสวรรค์ 3 คน กกต.อบจ.นครสวรรค์ เปิดรับสมัคร ผู้ที่มีความประสงค์จะลงสมัครรับเลือกตั้ง เป็นนายกอบจ.นครสวรรค์ 5 วัน มีสมัคร 3 คน". khupandin.com.
  8. "กกต.รับรองผลนายกอบจ. นครสวรรค์ กกต. ประกาศผลการเลือกตั้งนายกอบจ. นครสวรรค์ พลตำรวจเอกสมศักดิ์ จันทะพิงค์ เป็นนายกอบจ. นครสวรรค์". www.khupandin.com.
  9. ไทม์ไลน์เลือกตั้ง นายก อบจ.อ่างทอง หลัง ‘กำนันตี๋’ ทิ้งเก้าอี้ หย่อนบัตร 23 มิ.ย.
  10. "รับสมัครนายก อบจ.อ่างทอง กองเชียร์แห่ให้กำลังใจผู้สมัครคึกคัก". mgronline.com. 2024-05-13.
  11. "นับคะแนนแล้ว 100% นายกตี๋ สุรเชษ ชนะเลือกตั้งนายก อบจ.อ่างทอง ได้ 8.2 หมื่นเสียง". matichon.co.th. 2024-06-23.
  12. "ด่วน บิ๊กแจ๊ส ไขก๊อกนายก อบจ.ปทุมฯ เผยนัดลาออก 3 จว. เหตุช่วยปชช.ไม่ได้". www.thairath.co.th. 2024-05-02.
  13. "(คลิป) นายก อบจ.พะเยา-น้อง "ผู้กองธรรมนัส" ลาออกอีกจังหวัด กกต.จัดเลือกตั้งใหม่ต้นสิงหาฯ นี้". mgronline.com. 2024-06-18.
  14. บรรยากาศการรับสมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา
  15. "กกต.ไฟเขียวรับรองผลเลือกนายกอบจ. 3 จังหวัด ชัยนาท-อยุธยา-พะเยา". matichon.co.th.
  16. "เคาะ 4 ส.ค.67 เลือกตั้ง 'นายก อบจ.อยุธยา' แทนตำแหน่งที่ว่าง หลัง 'ซ้อสมทรง' ชิงลาออก". matichon.co.th. 2024-06-20.
  17. "ซ้อสมทรง ลาออก นายก อบจ.อยุธยา น้ำตาซึมกลางวงประชุม จับตาบิ๊กแจ๊สโมเดล". matichon.co.th. 2024-06-15.
  18. ศึกชิงเก้าอี้นายกอบจ.อยุธยา คึกคัก! ‘ซ้อสมทรง’ ลงสมัครคว้าเบอร์ 2 ด้าน ‘นายกอุ๊’ ได้เบอร์ 1
  19. จังหวัดชัยนาท มีผู้สมัครลงชิงเก้าอี้ นายก อบจ.ชัยนาท 3 คน หลังปิดรับสมัคร
  20. "เปิดประวัติ "อร่าม โล่ห์วีระ" บ้านใหญ่ชัยภูมิ คอนเนคชั่น แน่น แต่งตัวพร้อม รอป้องกันแชมป์ นายกฯ อบจ.ชัยภูมิ อีกสมัย ภายหลังดีลลับการเมืองใหญ่". mgronline.com. 2024-06-29.
  21. "เสือเฒ่า "อร่าม" ลับลวงคนกันเอง "บ้านในป่า" ชิงนายก อบจ.ชัยภูมิ". komchadluek. 2024-07-08.
  22. "ลาออกอีกจังหวัด! นายก อบจ.พิษณุโลกทิ้งเก้าอี้ก่อนครบวาระ อ้างเลี่ยงกฎ 180 วันกระทบค่าใช้จ่ายหาเสียง". mgronline.com. 2024-06-20.
  23. "ประกาศ เรื่อง ให้มีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดราชบุรี". ratchaburipao.go.th (ภาษาอังกฤษ).
  24. "บ้านใหญ่โอ่งมังกร ขยับ 'กำนันตุ้ย' ไขก๊อก 'นายก อบจ.ราชบุรี' ลงต่ออีกสมัย". bangkokbiznews. 2024-07-12.
  25. "'ณัฐพงษ์' นำทัพ สส.ประชาชน ช่วย 'ชัยรัตน์' หาเสียงชิงนายก อบจ.ราชบุรี". bangkokbiznews. 2024-08-10.
  26. เช็กเลย! กกต.รับรองผลเลือกตั้งท้องถิ่น 21 เก้าอี้ กำนันตุ้ย เฮ นั่งนายกอบจ.ราชบุรี
  27. "ประกาศ เรื่องให้มีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร". องค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร (อบจ.ชุมพร).
  28. "ลาออกก่อนครบวาระ! "นายกโต้ง" นายก อบจ.ชุมพร อ้างอยู่ไปก็ทำงานช่วยประชาชนไม่ได้ เตรียมลงสู้ศึกสมัยหน้า". mgronline.com. 2024-08-01.
  29. "'นพพร อุสิทธิ์' สมัครชิงนายกอบจ.ชุมพรอีกสมัย หวังสานต่อนโยบายลุล่วง". matichon.co.th. 2024-08-17.
  30. "กกต.ให้เลือกตั้งนายก อบจ.ปทุมธานีใหม่ คาด 22 ก.ย.นี้". Thai PBS.
  31. "กกต.สั่งเลือกตั้งใหม่ อบจ.ปทุมธานี "ชาญ พวงเพ็ชร" โดนใบเหลือง". Thai PBS.
  32. "กกต.ประกาศรับรอง "บิ๊กแจ๊ส" นั่งนายก อบจ.ปทุมธานีแล้ว". Thai PBS.
  33. "วิเชียร สมวงศ์ ลาออกนายก อบจ.ยโสธร อีกคน อ้างเหตุกฎ 180 วัน พร้อมลงชิงทวงเก้าอี้เดิม". matichon.com. 2024-08-30.
  34. "นายก อบจ.ระนอง ลาออกก่อนครบวาระ กลับมาสมัครใหม่ ป้องกันเก้าอี้ เลือกตั้ง 6 ต.ค". matichon.com. 2024-09-02.
  35. "กางแผนเลือกตั้งใหม่นายก อบจ.อุทัยธานี คาด "มนัญญา-น้องชาดา" ลงสนามด้วย". mgronline.com. 2024-08-28.
  36. "มนัญญาถอนตัวชิงนายกฯ อุทัยธานี มีข้อแม้ เผด็จ-นุ้ยปรี ต้องขอโทษเรื่องบาดหมางในอดีต". mgronline.com. 2024-09-03.
  37. "กกต.รับรองแล้ว ผลเลือกตั้ง "เผด็จ นุ้ยปรี" เป็นนายก อบจ.อุทัยธานี แล้ว". matichon.co.th.
  38. ประกาศผู้อำนวยการเลือกตั้งประจำองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น เรื่อง ให้มีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
  39. ""พงษ์ศักดิ์" ยื่นใบลาออก "นายกอบจ.ขอนแก่น" เตรียมจัดเลือกตั้งใหม่". เนชั่นทีวี. 2024-09-13.
  40. "มนู พุกประเสริฐ ลาออกนายก อบจ.สุโขทัย กลับมาสมัครใหม่แล้ว มั่นใจรักษาแชมป์ได้". matichon.co.th. 2024-09-30.
  41. "พรรคส้มถอย! ปชน.ไม่ส่งชิงนายก อบจ.สุโขทัย เปิดทางด้อมลงแข่งอิสระ". mgronline.com. 2024-10-04.
  42. กองบก (2022-10-13). ""สนธิรัตน์" ลงพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังเปิดตัว "วาริน ชิณวงศ์" ผู้แทนพรรคสร้างอนาคตไทย". The Thai Press.
  43. "พปชร. เลือดไหลอีก สัณหพจน์ อดีตส.ส.เมืองคอน ไขก๊อกสมาชิกพรรค". matichon.co.th. 2024-07-19.
  44. "'ชัยยะ-วิเชียร' ลาออก 'นายก อบจ.' รวมปี 67 มี 17 คนไขก๊อกก่อนครบวาระ". bangkokbiznews. 2024-09-26.
  45. "ไม่สนเป็นเมืองหลวงบางพรรค! ปชน.ส่ง 'คณิศร' ชิงนายก อบจ.อุดรฯ". bangkokbiznews. 2024-10-10.
  46. ชัยศิริ ศุภรักษ์จินดา ลาออกนายก อบจ.อุตรดิตถ์ ก่อนครบวาระไม่ถึง 2 เดือน
  47. ‘อดีตรองผู้ว่าฯอุตรดิตถ์’ ท้าชิงเก้าอี้นายกอบจ. อัด ชัยศิริ ทำเพื่อตัวเอง ไม่อยู่ให้ครบเทอม ต้องเปลืองงบเลือกตั้ง 2 ครั้ง
  48. พีระศักดิ์ พอจิต ยอมรับเตรียมตัวพร้อมแล้ว จ่อสมัครนายก อบจ.อุตรดิตถ์ หวนคืนเก้าอี้อีกหน
  49. กานต์ กัลป์ตินันท์ ลาออก นายก อบจ.อุบล ขออาสาลงชิงอีกสมัย หวังสานต่องานเดิม
  50. "ชาวอ่างทอง ทวง กกต.สอบนายก อบจ.ใช้งบจัดเลี้ยงแจกของก่อนลาออก 90 วัน ปูดเตี๊ยมคำตอบพยาน". mgronline.com. 2024-09-02.
  51. "ทนายอั๋น ยื่น กกต.สอบการเลือกตั้งนายก อบจ.ราชบุรี". pptvhd36.com. 2024-09-03.