ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Thailand national under-20 football team)
ไทยรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
Shirt badge/Association crest
ฉายาช้างศึก
สมาคมสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
สมาพันธ์ย่อยAFF (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
สมาพันธ์AFC (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเอเมอร์สัน เปไรร่า
กัปตันชนภัช บัวพันธ์
ติดทีมชาติสูงสุดศุภชัย ใจเด็ด (16)
ทำประตูสูงสุดศุภณัฏฐ์ เหมือนตา (13)
สนามเหย้าราชมังคลากีฬาสถาน
รหัสฟีฟ่าTHA
ชนะสูงสุด
ไทย ไทย 21–0 หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา 
(พนมเปญ ประเทศกัมพูชา; 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019)
แพ้สูงสุด
ไทย ไทย 1–8 เกาหลีใต้ 
(ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์; 24 กันยายน ค.ศ. 1992)
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
เข้าร่วม24 (ครั้งแรกใน 1960)
ผลงานดีที่สุดเหรียญทอง ชนะเลิศ
(1962, 1969)

ฟุตบอลทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี เป็นชุดทีมชาติไทยในรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อทำการแข่งขันในทัวร์นาเมนต์ต่าง ๆ ทั้งระดับเอเชียและอาเซียน เช่น ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี และ ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี

ผลงานและตารางการแข่งขัน[แก้]

      ชนะ       เสมอ       แพ้

2024[แก้]

26 มกราคม ค.ศ. 2024 (2024-01-26) แมตช์กระชับมิตรอินโดนีเซีย 1–2 ไทยจาการ์ตา, อินโดนีเซีย
19:30 UTC+7
  • ปริพรรห์ ประตู 63'
  • พิฆเนศ ประตู 90+3'
สนามกีฬา: Gelora Bung Karno Stadium
2 มีนาคม ค.ศ. 2024 (2024-03-02) Friendly Matchพีที สตูล 3–2 ไทยSatun, Thailand
16:00 UTC+7
สนามกีฬา: Satun PAO. Stadium
20 มีนาคม ค.ศ. 2024 (2024-03-20) Friendly Match ไทย1–2Udon United Buriram, Thailand
สนามกีฬา: Khao Kradong Stadium
13 กรกฎาคม ค.ศ. 2024 (2024-07-13) เกมกระชับมิตรไทย 0-0ไทย สมุทรปราการ ซิตีสมุทรปราการ, ราชอาณาจักรไทย
16:00 UTC+7 สนามกีฬา: แคมป์ฝึกซ้อมบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บางบ่อ

ผู้ฝึกสอน[แก้]

ผู้ฝึกสอนนับตั้งแต่ปี (1994–ปัจจุบัน)

ชื่อ สัญชาติ ปีที่คุม การแข่งขัน
ชัชชัย พหลแพทย์ ไทย 1994–1996 ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 1994 - Gold Medalist อันดับที่ 3

ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 1996 - รอบสุดท้าย

ชาญวิทย์ ผลชีวิน ไทย 1998-2000/2002 ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 1998 - รอบสุดท้าย
ฟุตบอลเยาวชนเอเชียปี 2000 - รอบสุดท้าย
ฟุตบอลเยาวชนเอเชียปี 2002 - รอบสุดท้าย
ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 - ชนะเลิศ
คาร์ลอส โรแบร์โต บราซิล 2003 โฮจิมินซิตี้ ฟุตบอลคัพ 2003
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 2004 รอบคัดเลือก - ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
ชาญวิทย์ ผลชีวิน ไทย 2004 ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 2004 - รอบสุดท้าย
พยงค์ ขุนเณร ไทย 2005–2006 ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2005 - รอบสุดท้าย
ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2006 - รอบสุดท้าย
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 2006 รอบคัดเลือก - อันดับ 1 ของกลุ่ม 10
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 2006 - รอบสุดท้าย
กวิน คเชนทร์เดชา ไทย 2007-2008 ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี 2007 - อันดับที่ 3
ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์เอเชียปี 2008 รอบคัดเลือก - อันดับ 2 ของกลุ่ม E
ฟุตบอลเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชียปี 2008 - รอบสุดท้าย
เฉลิมวุฒิ สง่าพล ไทย 2009-2010 ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2009 - ชนะเลิศ
ฟุตบอลเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชียปี 2010 - รอบสุดท้าย
ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2010- รองชนะเลิศ
สมชาย ชวยบุญชุม ไทย 2011 ฟุตบอลเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชียปี 2012 รอบคัดเลือก - อันดับ 1 ของกลุ่ม E
ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2011 - ชนะเลิศ
อาจหาญ ทรงงามทรัพย์ ไทย 2012 ฟุตบอลเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชียปี 2012 - รอบสุดท้าย
จีรศักดิ์ เจริญจันทร์ ไทย 2013 ฟุตบอลชิงแชมป์อาเซียนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2013 - รอบสุดท้าย
สมชาย ชวยบุญชุม ไทย 2013 ฟุตบอลเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี ชิงแชมป์เอเชียปี 2014 รอบคัดเลือก - อันดับ 2 ของกลุ่ม H
สะสม พบประเสริฐ ไทย 2014 ฟุตบอลเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชียปี 2014 - รอบก่อนรองชนะเลิศ
อนุรักษ์ ศรีเกิด ไทย 2015 ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2015 - ชนะเลิศ
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 รอบคัดเลือก - อันดับ 2 ของกลุ่ม H
เฉลิมวุฒิ สง่าพล ไทย 2016
อนุรักษ์ ศรีเกิด

ไทย

2016

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 - รองชนะเลิศ

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2016 - รอบสุดท้าย

มาร์ค อลาเบดร้า 

สเปน

2017–2018

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2017 - ชนะเลิศ
อิสระ ศรีทะโร ไทย 2018–2019 ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018 - อันดับ 4
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018 - รอบ 8 ทีม

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2020 รอบคัดเลือก - รอบแบ่งกลุ่ม

บำรุง บุญพรหม ไทย 2019 GSB Bangkok Cup 2019 - อันดับที่ 4 
ซัลบาดอร์ บาเลโร การ์เซีย สเปน 2020–2022 ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2022 - อันดับที่ 4 
ทันห์เนียนคัพ 2022 - อันดับที่ 3

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2023 รอบคัดเลือก - รอบแบ่งกลุ่ม

โทชิยะ มิอุระ ญี่ปุ่น 2023
ยูกิ ริชาร์ด สตาลฟ ญี่ปุ่น 2023–2024
เอเมอร์สัน เปไรร่า บราซิล 2024– ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี

บุคลากร[แก้]

ผู้ฝึกสอนปัจจุบัน[แก้]

ณ วันที่ 6 มิฤนายน 2567
ตำแหน่ง ชื่อ
ผู้จัดการทีม ไทย ชนน์ชนก ชิดชอบ
หัวหน้าผู้ฝึกสอน บราซิล เอเมอร์สัน เปไรร่า
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน ไทย อานนท์ แก้วพฤกษ์
ผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตู ว่าง
ผู้ฝึกสอนด้านสมรรถภาพทางกาย ออสเตรเลีย เดวิด คิสต์
วิเคราะห์การแข่งขัน ออสเตรเลีย จอร์แดน แมนนิง
แพทย์ประจำทีม ไทย นพ. ภคภณ อิสรไกรศีล
ไทย นพ. กีรติ สุรการ
นักกายภาพ ญี่ปุ่น โยเฮ ชิรากิ
ไทย สุวิชชา นอรดี
ไทย ภาณุวัฒน์ ชุติโชติลิ่มสกุล
หมอนวด ไทย อำนวย สักเล็บประดู่
ไทย ทรงวุฒิ ขำฟุ้ง
ล่ามแปลภาษา ว่าง
เจ้าหน้าที่ทีม ไทย สิริชัย กิโมโต
ไทย สุพัฒน์ พลยุทธภูมิ
ไทย ศุภกิตติ์ วิเศษอนุพงษ์
ไทย ศรายุทธ กล่ำถาวร

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

รายชื่อผู้เล่น 23 คนสุดท้าย สำหรับการแข่งขันฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี ที่ประเทศอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 17 – 31 กรกฏาคม พ.ศ. 2567 สำหรับไทย จะอยู่ร่วมสายกับ มาเลเซีย,สิงคโปร์ และบรูไน โดยการแข่งขันจะเป็นแบบพบกันหมด โดยใช้สนามแข่งทั้งหมด 2 สนาม คือ เกโลรา บุง โตโม สเตเดียม และ เกโลรา 10 โนเวมเบอร์ สเตเดียม โดนจะนำทีมแชมป์ทั้ง 3 กลุ่ม และรองแชมป์กลุ่มที่ดีที่สุด ผ่านเข้ารอบต่อไป.

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK ไทย กิตติพงศ์ บุญมาก (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
23 GK ไทย อานัส สำราญ (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
12 GK ไทย พิจักษณ์ ดอนวิไทย (ไทย พราม แบงค็อก)
16 DF ไทย ภควัต แต่งอักษร (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
4 DF ไทย เจตน์สพัชญ์ ควรถนอม (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
5 DF ไทย สิงหา มาระสะ (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
15 DF ไทย ปิยวัฒน์ เปตรา (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
2 DF ไทย พิฆเนศ เลาหวิวัฒน์ (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
11 DF ไทย รัฐภูมิ พานเขจร (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
22 DF ไทย พงศกร สังขโสภา (ไทย ราชบุรี เอฟซี)
3 DF ไทย ภัทรบุรินทร์ จันนาวัน (ไทย หนองบัว พิชญ)
18 DF ไทย จิรพล แซ่ลิ่ว (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
13 MF ไทย สิรดนัย โพธิ์ศรี (ไทย โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี)
10 MF ไทย ธนกฤต โชติเมืองปัก (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
8 MF ไทย ดุษฏี บูรณะจุฑานนท์ (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
14 MF ไทย จิรพงษ์ พึ่งวีรวงศ์ (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
6 MF ไทย รพีภัทร ผาดไธสง (ไทย สุพรรณบุรี เอฟซี)
21 MF ไทย ณัฐปคัลภ์ พรมทองมี (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
9 FW ไทย คลีแลน ไรอัน (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
17 FW ไทย ชโนทัย คงเหม็ง (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
19 FW ไทย ปริพรรห์ วงษา (ไทย บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
7 FW ไทย ธนาวุฒิ โพธิ์ชัย (ไทย หนองบัว พิชญ)
20 FW ไทย ปิติพงศ์ วงศ์บุตร (ไทย อุดร ยูไนเต็ด)
เทรนนิ่ง พาร์ทเนอร์
  • Alexsander Gountounas (เซนทรัลโคสต์ มาริเนอร์)
  • ศุภณัฐ มหาไวย์ (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
  • ณฐกร รัตนสุวรรณ (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
  • จิรพล แซ่ลิ่ว (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
  • ณัฐปคัลภ์ พรมทองมี (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)
  • วรรณธญาวุฒิ นุชกระแสร์ (บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด)

ที่เคยถูกเรียกตัว[แก้]

รายชื่อผู้เล่นที่เคยถูกเรียกตัวติดทีมชาติไทยในรอบ 12 เดือนล่าสุด :

ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร ถูกเรียกครั้งล่าสุด
GK ชมพัฒน์ บุญเลิศ (2003-02-17) 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003 (21 ปี) ไทย ชลบุรี ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2023PRE
DF พลเอก มณีกร เจนเซ่น (2003-05-30) 30 พฤษภาคม ค.ศ. 2003 (21 ปี) ไทย พัทยา ดอลฟินส์ ยูไนเต็ด ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2023PRE
DF ชัยพล อดทน (2003-04-04) 4 เมษายน ค.ศ. 2003 (21 ปี) ไทย นครปฐม ยูไนเต็ด ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2023PRE

INJ ผู้เล่นที่ถูกเรียกแต่ถอนตัวเนื่องจากอาการบาดเจ็บ
PRE ผู้เล่นชุดเบื้องต้น
RET ผู้เล่นที่เลิกเล่นให้กับทีมชาติ
WD ผู้เล่นที่ถูกเรียกแต่ถอนตัวเนื่องจากปัญหาส่วนตัว

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]