รายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศไทย
นี่คือ รายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศไทย ที่มีความจุมากกว่า 5,000 ที่นั่งเป็นต้นไป สโมสรที่แข่งขันในระดับที่ 1-3 (ไทยลีกถึงไทยลีก 3) ของระบบลีกฟุตบอลไทยและใช้สนามดังกล่าวในฤดูกาล 2563 จะแสดงในคอลัมน์ "ผู้ใช้งานหลัก" ในขณะที่สโมสรที่เคยใช้งานสนามในอดีตเพื่อแข่งขันในระดับที่ 1-3 ไม่ว่าจะยังคงแข่งในฤดูกาล 2563 หรือไม่ก็ตามจะแสดงในคอลัมน์ "ผู้ใช้งานในอดีต"
สนามในปัจจุบัน[แก้]
สนามที่กำลังก่อสร้าง[แก้]
# | รูป | สนาม | ความจุ | ที่ตั้ง | คาดการ ปี พ.ศ. เปิด |
ผู้ใช้งานหลัก |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ศูนย์กีฬาภาคตะวันออก[6] | 20,000 | ชลบุรี (บางละมุง) | 2564 |
- หมายเหตุ
- ↑ 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 สนามฟุตบอลเต็มรูปแบบ ไม่มีลู่วิ่ง
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 สนามฟุตบอลที่มีสโมสรฟุตบอลเป็นเจ้าของ
- ↑ 3.0 3.1 3.2 สนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานฟีฟ่า
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 สโมสรแข่งขันในไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
- ↑ ใช้สนามเกร็กคู สายไหมในฤดูกาล 2563
- ↑ ใช้สนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่ในฤดูกาล 2563
- ↑ ใช้สนามกีฬาว่องประชานุกูล โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีในฤดูกาล 2563
- ↑ ใช้ช้างอารีนาในฤดูกาล 2563
- ↑ ใช้สนามกีฬากองเรือยุทธการ (แบตเทิลชิปสเตเดียม) ในฤดูกาล 2563
- ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 ใช้สนามชั่วคราวระหว่างสนามเหย้าของสโมสรกำลังปรับปรุง
- ↑ 11.0 11.1 11.2 ตกชั้นจากไทยลีก 4 ฤดูกาล 2562
- ↑ ใช้สนามชั่วคราวเนื่องจากอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
- ↑ ใช้สนามกีฬาโรงเรียนอุดมศีลวิทยา (อยุธยา เอฟซี สเตเดียม) ในฤดูกาล 2563
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ประวัติความเป็นมา สโฒสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด buriramunited.com สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
- ↑ ประวัติสนามกีฬาจุฬาลงกรณ์ เว็บไซต์ศูนย์กีฬาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
- ↑ PTT STADIUMS Archived 2018-08-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน pttrayongfc.net สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
- ↑ หนองบัวพิชญทำเก๋ ชวนแฟนปลูกหญ้าสนามแข่งใหม่ เดลินิวส์ออนไลน์ สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
- ↑ หนองบัวพิชญฯ เตรียมประเดิมรังเหย้าใหม่ 25ต.ค.นี้
- ↑ สนามกีฬาภาคตะวันออก ก่อสร้างคืบหน้าแล้วกว่า 50 % มั่นใจเสร็จพร้อมเปิดใช้ปี 64 ผู้จัดการออนไลน์ 14/1/2020