ฟุตบอลโลกหญิง 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2019 FIFA Women's World Cup)
ฟุตบอลโลกหญิง 2019
Coupe du Monde Féminine de la FIFA 2019
(ฝรั่งเศส)
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพฝรั่งเศส
วันที่7 มิถุนายน ถึง 7 กรกฎาคม
ทีม24 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 9 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
อันดับที่ 3ธงชาติสวีเดน สวีเดน
อันดับที่ 4ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน52
จำนวนประตู146 (2.81 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,131,312 (21,756 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอังกฤษ Ellen White
สหรัฐ Alex Morgan
สหรัฐ Megan Rapinoe
(คนละ 6 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสหรัฐ Megan Rapinoe
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเนเธอร์แลนด์ Sari van Veenendaal
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมเยอรมนี Giulia Gwinn
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
2015
2023

ฟุตบอลหญิง 2019 (อังกฤษ: 2019 FIFA Women's World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงครั้งที่ 8 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงระดับนานาชาติ โดยประเทศฝรั่งเศสเป็นเจ้าภาพจัดการแข่ง โดยประกาศเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2558[1]

การคัดเลือก[แก้]

ทีมที่ผ่านการคัดเลือก[แก้]

ฟีฟ่าได้ประกาศจำนวนทีมจากแต่ละสมาพันธ์ที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขันในรอบสุดท้ายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559[2] โดยจำนวนทีมในแต่ละทวีปที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้ายยังคงใช้ตามครั้งก่อนหน้านี้ เพียงแต่สิทธิ์ในฐานะเจ้าภาพโอนจากคอนคาแคฟในครั้งที่แล้ว (แคนาดา) ไปเป็นยูฟ่า (ฝรั่งเศส)[3] โดยจำนวนทีมในแต่ละทวีปที่มีสิทธิ์เข้าแข่งขันรอบสุดท้ายเป็นดังนี้

24 ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายและอันดับโลกตามการจัดอันดับของฟีฟ่าในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 แสดงด้านล่างนี้[4][5]

สนามแข่งขัน[แก้]

12 เมืองเสนอตัวเป็นเจ้าภาพในการแข่งขัน[6] และถูกคัดเหลือเพียง 9 เมืองในวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560 โดยสตาดเดอลาโบฌัวร์ในน็องต์ สตาดมาร์แซล-ปีโกในน็องซี และสตาดเดอลาเบ-เดช็องในโอแซร์ถูกคัดออก[7]

สนามปาร์กอแล็งปิกในลียง อลิอันซ์ริวีเอราในนิส และปาร์กเดแพร็งส์ในปารีสเคยใช้จัดการแข่งขันยูโร 2016 มาก่อน และปาร์กเดแพร็งส์ยังเคยใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 1998 และตั้งอยู่บนพื้นที่เดิมที่เป็นสนามแข่งขันในฟุตบอลโลก 1938 สนามอีกแห่งที่เคยใช้จัดฟุตบอลโลก 1998 คือสตาดเดอลามอซงในมงเปอลีเย สนามอื่น ๆ มีความจุน้อยกว่า 30,000 ที่นั่ง

การแข่งขันในรอบรองชนะเลิศและชิงชนะเลิศจะมีขึ้นที่ปาร์กอแล็งปิกลียอแน ในย่าน Décines ชานเมืองลียง โดยมีความจุ 58,000 ที่นั่ง ส่วนการแข่งขันนัดเปิดสนามจะจัดขึ้นที่ปาร์กเดแพร็งส์ในกรุงปารีส[8]

ลียง ปารีส นิส มงเปอลีเย
ปาร์กอแล็งปิกลียอแน ปาร์กเดแพร็งส์ อลิอันซ์ริวีเอรา สตาดเดอลามอซง
Capacity: 59,186 Capacity: 48,583 Capacity: 35,624 Capacity: 32,900
แรน
รัวเซินปาร์ก
Capacity: 29,164
เลออาฟวร์ วาล็องเซียน แร็งส์ เกรอนอบล์
สตาดออเซอ็อง สตาดดูแอโน สตาโดกุสต์-เดโลน สตาดเดออาลป์
Capacity: 25,178 Capacity: 25,172 Capacity: 21,127 Capacity: 20,068

การจับสลากแบ่งสาย[แก้]

การจับสลากแบ่งสายมีขึ้นที่ La Seine Musicale ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561[9] โดยทีมที่ผ่านเข้ารอบ 24 ทีมจะถูกแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยทีมเหล่านี้จะถูกแบ่งออกเป็น 4 โถ โดยเรียงตามอันดับโลกหญิงฟีฟ่าที่ประกาศในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2561 และฝรั่งเศสซึ่งเป็นเจ้าภาพจะถูกจัดอยู่ในโถ 1 และตำแหน่ง A1 โดยอัตโนมัติ ในแต่ละกลุ่มจะไม่มีทีมที่มาจากสมาพันธ์เดียวกัน ยกเว้นยูฟ่าซึ่งมีทีมที่ผ่านเข้ารอบ 9 ทีมซึ่งทำให้แต่ละทีมจะมีทีมจากยูฟ่า 1 หรือ 2 ทีม[10]

Pot 1 Pot 2 Pot 3 Pot 4

ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (3) (เจ้าภาพ)
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (1)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (2)
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ (4)
ธงชาติแคนาดา แคนาดา (5)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (6)

ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (7)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (8)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน (9)
ธงชาติบราซิล บราซิล (10)
ธงชาติสเปน สเปน (12)
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ (13)

ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (14)
ธงชาติจีน จีน (15)
ธงชาติอิตาลี อิตาลี (16)
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (19)
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ (20)
ธงชาติไทย ไทย (29)

ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา (36)
ธงชาติชิลี ชิลี (38)
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย (39)
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน (46)
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ (48)
ธงชาติจาเมกา จาเมกา (53)

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

ตารางการแข่งขันประกาศเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561[11] สองอันดับแรกจากแต่ละกลุ่ม และทีมอันดับที่สามที่ดีที่สุด 4 อันดับแรกจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย[12]

เวลาที่แสดงคือเวลาท้องถิ่นตามเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) ซึ่งช้ากว่าเวลามาตรฐานไทย 5 ชั่วโมง[13]

การตัดสินกรณีที่มีผลเสมอกัน[แก้]

การจัดอันดับทีมในรอบแบ่งกลุ่มจะใช้เกณฑ์ดังนี้[12]

  1. คะแนนที่ทำได้จากทุกนัดในรอบแบ่งกลุ่ม
  2. ผลต่างประตูได้-เสียจากทุกนัดในรอบแบ่งกลุ่ม
  3. จำนวนประตูที่ทำได้จากทุกนัดในรอบแบ่งกลุ่ม
  4. คะแนนที่ทำได้จากนัดระหว่างทีมที่มีผลเสมอกัน (มินิลีก)
  5. ผลต่างประตูได้-เสียจากนัดระหว่างทีมที่มีผลเสมอกัน
  6. จำนวนประตูที่ทำได้จากนัดระหว่างทีมที่มีผลเสมอกัน
  7. คะแนนแฟร์เพลย์จากทุกนัดในรอบแบ่งกลุ่ม โดยคิดคะแนนต่อผู้เล่น 1 คนใน 1 นัด ดังนี้
    1. ใบเหลือง –1 คะแนน
    2. ใบเหลืองสองใบเป็นใบแดง –3 คะแนน
    3. ใบแดงทันทีโดยไม่มีใบเหลือง –4 คะแนน
    4. ใบเหลือง และใบแดงทันทีหลังจากนั้น –5 คะแนน
  8. จับสลาก

กลุ่มเอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (H, A) 3 3 0 0 7 1 +6 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ (A) 3 2 0 1 6 3 +3 6
3 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 1 0 2 2 4 −2 3
4 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (E) 3 0 0 3 1 8 −7 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.
นอร์เวย์ ธงชาตินอร์เวย์3–0ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
Reiten Goal 17'
Utland Goal 34'
โอฮาเล Goal 37' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน

ไนจีเรีย ธงชาติไนจีเรีย2–0ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
คิม โด-ย็อน Goal 29' (เข้าประตูตัวเอง)
โอโชอาลา Goal 75'
รายงาน
ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส2–1ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
โกแว็ง Goal 46'
เลอ ซอเม Goal 72' (ลูกโทษ)
รายงาน เรอนาร์ Goal 54' (เข้าประตูตัวเอง)

กลุ่มบี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (A) 3 3 0 0 6 0 +6 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสเปน สเปน (A) 3 1 1 1 3 2 +1 4
3 ธงชาติจีน จีน (A) 3 1 1 1 1 1 0 4
4 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ (E) 3 0 0 3 1 8 −7 0
แหล่งที่มา : FIFA
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี1–0ธงชาติจีน จีน
Gwinn Goal 66' รายงาน
สเปน ธงชาติสเปน3–1ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
Hermoso Goal 69' (ลูกโทษ)82' (ลูกโทษ)
L. García Goal 89'
รายงาน Kgatlana Goal 25'
ผู้ชม: 12,044 คน[21]
ผู้ตัดสิน: มาริอา การ์บาฆัล (ชิลี)

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี1–0ธงชาติสเปน สเปน
Däbritz Goal 42' รายงาน
แอฟริกาใต้ ธงชาติแอฟริกาใต้0–1ธงชาติจีน จีน
รายงาน Li Ying Goal 40'

แอฟริกาใต้ ธงชาติแอฟริกาใต้0–4ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
รายงาน Leupolz Goal 14'
Däbritz Goal 29'
Popp Goal 40'
Magull Goal 58'
ผู้ชม: 15,502 คน[24]
ผู้ตัดสิน: ซันดรา บรัซ (โปรตุเกส)
จีน ธงชาติจีน0–0ธงชาติสเปน สเปน
รายงาน
ผู้ชม: 11,814 คน[25]
ผู้ตัดสิน: อีดินา อัลวีส บาติสตา (บราซิล)

กลุ่มซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิตาลี อิตาลี (A) 3 2 0 1 7 2 +5 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (A) 3 2 0 1 8 5 +3 6
3 ธงชาติบราซิล บราซิล (A) 3 2 0 1 6 3 +3 6
4 ธงชาติจาเมกา จาเมกา (E) 3 0 0 3 1 12 −11 0
แหล่งที่มา : FIFA
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย1–2ธงชาติอิตาลี อิตาลี
Kerr Goal 22' รายงาน Bonansea Goal 56'90+5'
บราซิล ธงชาติบราซิล3–0ธงชาติจาเมกา จาเมกา
Cristiane Goal 15'50'64' รายงาน
ผู้ชม: 17,668 คน[27]
ผู้ตัดสิน: ไรม์ ฮุสเซอิน (เยอรมนี)

ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย3–2ธงชาติบราซิล บราซิล
Foord Goal 45+1'
Logarzo Goal 58'
Mônica Goal 66' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน Marta Goal 27' (ลูกโทษ)
Cristiane Goal 38'
จาเมกา ธงชาติจาเมกา0–5ธงชาติอิตาลี อิตาลี
รายงาน Girelli Goal 12' (ลูกโทษ)25'46'
Galli Goal 71'81'
ผู้ชม: 12,016 คน[29]
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี ไคห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)

จาเมกา ธงชาติจาเมกา1–4ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Solaun Goal 49' รายงาน Kerr Goal 11'42'69'83'
อิตาลี ธงชาติอิตาลี0–1ธงชาติบราซิล บราซิล
รายงาน Marta Goal 74' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 21,669 คน[31]
ผู้ตัดสิน: ลูซิลา เวเนกัส (เม็กซิโก)

กลุ่มดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ (A) 3 3 0 0 5 1 +4 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (A) 3 1 1 1 2 3 −1 4
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 0 2 1 3 4 −1 2
4 ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ (E) 3 0 1 2 5 7 −2 1
แหล่งที่มา : FIFA
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–1ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์
พาร์ริส Goal 14' (ลูกโทษ)
ไวต์ Goal 40'
รายงาน เอมส์ลี Goal 79'
ผู้ชม: 13,188 คน[32]
ผู้ตัดสิน: ยานา อาดัมคอวา (สาธารณรัฐเช็ก)

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น2–1ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์
อิวาบูจิ Goal 23'
ซูงาซาวะ Goal 37' (ลูกโทษ)
รายงาน เคลลแลนด์ Goal 88'
ผู้ชม: 13,201 คน[34]
ผู้ตัดสิน: ลิดยา ทาเฟสเซ อาเบเบ (เอธิโอเปีย)
อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ1–0ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
เทย์เลอร์ Goal 62' รายงาน
ผู้ชม: 20,294 คน[35]
ผู้ตัดสิน: ฉิน เหลียง (จีน)

กลุ่มอี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (A) 3 3 0 0 6 2 +4 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติแคนาดา แคนาดา (A) 3 2 0 1 4 2 +2 6
3 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน (A) 3 1 0 2 3 5 −2 3
4 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (E) 3 0 0 3 1 5 −4 0
แหล่งที่มา : FIFA
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
นิวซีแลนด์ ธงชาตินิวซีแลนด์0–1ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
รายงาน Roord Goal 90+2'
ผู้ชม: 10,654 คน[39]
ผู้ตัดสิน: เอดินา อัลวีส บาติสตา (บราซิล)

เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์3–1ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
Miedema Goal 41'85'
Bloodworth Goal 48'
รายงาน Onguéné Goal 43'
ผู้ชม: 22,423 คน[40]
ผู้ตัดสิน: คาซีย์ ไรเบลต์ (ออสเตรเลีย)
แคนาดา ธงชาติแคนาดา2–0ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
Fleming Goal 48'
Prince Goal 79'
รายงาน
ผู้ชม: 14,856 คน[41]
ผู้ตัดสิน: โยชิมิ ยะมะชิตะ (ญี่ปุ่น)

แคเมอรูน ธงชาติแคเมอรูน2–1ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
Nchout Goal 57'90+5' รายงาน Awona Goal 80' (เข้าประตูตัวเอง)

กลุ่มเอฟ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3 3 0 0 18 0 +18 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 2 0 1 7 3 +4 6
3 ธงชาติชิลี ชิลี 3 1 0 2 2 5 −3 3
4 ธงชาติไทย ไทย 3 0 0 3 1 20 −19 0
แหล่งที่มา : FIFA
ชิลี ธงชาติชิลี0–2ธงชาติสวีเดน สวีเดน
รายงาน Asllani Goal 83'
Janogy Goal 90+4'
ผู้ชม: 15,875 คน[44]
ผู้ตัดสิน: ลูซิลา เวเนกัส (เม็กซิโก)
สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ13–0ธงชาติไทย ไทย
Morgan Goal 12'53'74'81'87'
Lavelle Goal 20'56'
Horan Goal 32'
Mewis Goal 50'54'
Rapinoe Goal 79'
Pugh Goal 85'
Lloyd Goal 90+2'
รายงาน
ผู้ชม: 18,591 คน
ผู้ตัดสิน: ลาอูรา ฟอร์ตูนาโต (อาร์เจนตินา)

สวีเดน ธงชาติสวีเดน5–1ธงชาติไทย ไทย
Sembrant Goal 6'
Asllani Goal 19'
Rolfö Goal 42'
Hurtig Goal 81'
Rubensson Goal 90+6' (ลูกโทษ)
รายงาน กาญจนา Goal 90+1'
ผู้ชม: 9,354 คน[45]
ผู้ตัดสิน: ซาลิมา มูคันซันกา (รวันดา)
สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ3–0ธงชาติชิลี ชิลี
Lloyd Goal 11'35'
Ertz Goal 26'
รายงาน
ผู้ชม: 45,594 คน[46]
ผู้ตัดสิน: ไรม์ ฮุสไซน์ (เยอรมนี)

สวีเดน ธงชาติสวีเดน0–2ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
รายงาน Horan Goal 3'
Andersson Goal 50' (เข้าประตูตัวเอง)
ไทย ธงชาติไทย0–2ธงชาติชิลี ชิลี
รายงาน วราภรณ์ Goal 48' (เข้าประตูตัวเอง)
Urrutia Goal 80'
ผู้ชม: 13,567 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี ไคห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)

อันดับที่ 3[แก้]

ทีมอันดับที่ 3 ที่ดีที่สุด 4 ทีมจาก 6 ทีมจะได้เข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้ายร่วมกับสองอันดับแรกจากแต่ละกลุ่ม

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 C ธงชาติบราซิล บราซิล 3 2 0 1 6 3 +3 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 B ธงชาติจีน จีน 3 1 1 1 1 1 0 4
3 E ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน 3 1 0 2 3 5 −2 3
4 A ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 1 0 2 2 4 −2 3
5 F ธงชาติชิลี ชิลี 3 1 0 2 2 5 −3 3
6 D ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 0 2 1 3 4 −1 2
แหล่งที่มา : FIFA

รอบแพ้คัดออก[แก้]

การแข่งขันในรอบแพ้คัดออกจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายนถึง 7 กรกฎาคม

 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
22 มิถุนายน – นิส
 
 
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ (ลูกโทษ)1 (4)
 
27 มิถุนายน – เลออาฟวร์
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย1 (1)
 
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์0
 
23 มิถุนายน – วาล็องเซียน
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ3
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ3
 
2 กรกฎาคม – ลียง
 
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน0
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ1
 
23 มิถุนายน – เลออาฟวร์
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ2
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
(ต่อเวลา)
2
 
28 มิถุนายน – ปารีส
 
ธงชาติบราซิล บราซิล1
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส1
 
24 มิถุนายน – แร็งส์
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ2
 
ธงชาติสเปน สเปน1
 
7 กรกฎาคม – ลียง
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ2
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ2
 
25 มิถุนายน – มงเปอลีเย
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์0
 
ธงชาติอิตาลี อิตาลี2
 
29 มิถุนายน – วาล็องเซียน
 
ธงชาติจีน จีน0
 
ธงชาติอิตาลี อิตาลี0
 
25 มิถุนายน – แรน
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์2
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์2
 
3 กรกฎาคม – ลียง
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น1
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
(ต่อเวลา)
1
 
22 มิถุนายน – เกรอนอบล์
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน0 รอบชิงอันดับที่สาม
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี3
 
29 มิถุนายน – แรน6 กรกฎาคม – นิส
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย0
 
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี1ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ1
 
24 มิถุนายน – ปารีส
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน2 ธงชาติสวีเดน สวีเดน2
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1
 
 
ธงชาติแคนาดา แคนาดา0
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี3–0ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
Popp Goal 20'
Däbritz Goal 27' (ลูกโทษ)
Schüller Goal 82'
รายงาน
ผู้ชม: 17,988 คน[47]
ผู้ตัดสิน: โยชิมิ ยะมะชิตะ (ญี่ปุ่น)
นอร์เวย์ ธงชาตินอร์เวย์1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Herlovsen Goal 31' รายงาน Kellond-Knight Goal 83'
ลูกโทษ
C. Hansen Penalty scored
Reiten Penalty scored
Mjelde Penalty scored
Engen Penalty scored
4–1 Missed Kerr
Missed Gielnik
Penalty scored Catley
ผู้ชม: 12,229 คน[48]
ผู้ตัดสิน: ไรม์ ฮุสไซน์ (เยอรมนี)
อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ3–0ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
Houghton Goal 14'
White Goal 45+4'
Greenwood Goal 58'
รายงาน
ผู้ชม: 20,148 คน[49]
ผู้ตัดสิน: ฉิน เหลียง (จีน)
สวีเดน ธงชาติสวีเดน1–0ธงชาติแคนาดา แคนาดา
Blackstenius Goal 55' รายงาน
อิตาลี ธงชาติอิตาลี2–0ธงชาติจีน จีน
Giacinti Goal 15'
Galli Goal 49'
รายงาน
ผู้ชม: 17,492 คน[53]
ผู้ตัดสิน: อีดินา อัลวีส บาติสตา (บราซิล)

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

นอร์เวย์ ธงชาตินอร์เวย์0–3ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
รายงาน Scott Goal 3'
White Goal 40'
Bronze Goal 57'
ผู้ชม: 21,111 คน[55]
ผู้ตัดสิน: ลูซิลา เวเนกัส (เม็กซิโก)
ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส1–2ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
Renard Goal 81' รายงาน Rapinoe Goal 5'65'
เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี1–2ธงชาติสวีเดน สวีเดน
Magull Goal 16' รายงาน Jakobsson Goal 22'
Blackstenius Goal 48'

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

รอบชิงอันดับที่สาม[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สถิติ[แก้]

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

มีการทำประตู 146 ประตู จากการแข่งขัน 52 นัด เฉลี่ย 2.81 ประตูต่อนัด


การทำประตู 6 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

  • บราซิล Mônica (ในนัดที่พบกับ ออสเตรเลีย)
  • แคเมอรูน Aurelle Awona (ในนัดที่พบกับ นิวซีแลนด์)
  • ฝรั่งเศส Wendie Renard (ในนัดที่พบกับ นอร์เวย์)
  • ไนจีเรีย Osinachi Ohale (ในนัดที่พบกับ นอร์เวย์)
  • สกอตแลนด์ Lee Alexander (ในนัดที่พบกับ อาร์เจนตินา)
  • เกาหลีใต้ Kim Do-yeon (ในนัดที่พบกับ ไนจีเรีย)
  • สวีเดน Jonna Andersson (ในนัดที่พบกับ สหรัฐ)
  • ไทย วราภรณ์ บุญสิงห์ (ในนัดที่พบกับ ชิลี)

ระเบียบวินัย[แก้]

ผู้เล่น คู่แข่งขัน บทลงโทษที่ได้รับ
เนเธอร์แลนด์ Anouk Dekker Red card ใน รอบคัดเลือก พบกับ สวิตเซอร์แลนด์ (13 พฤศจิกายน 2018) กลุ่ม อี พบกับ นิวซีแลนด์ (นัดที่ 1; 11 มิถุนายน)
แอฟริกาใต้ Nothando Vilakazi Yellow card Yellow-red card ใน กลุ่ม บี พบกับ สเปน (นัดที่ 1; 8 มิถุนายน) กลุ่ม บี พบกับ จีน (นัดที่ 2; 13 มิถุนายน)
บราซิล Formiga โดนใบเหลือง ใน กลุ่ม ซี พบกับ จาเมกา (นัดที่ 1; 9 มิถุนายน)
โดนใบเหลือง ใน กลุ่ม ซี พบกับ ออสเตรเลีย (นัดที่ 2; 13 มิถุนายน)
กลุ่ม ซี พบกับ อิตาลี (นัดที่ 3; 18 มิถุนายน)
ไทย ธนีกาญจน์ แดงดา โดนใบเหลือง ใน กลุ่ม เอฟ พบกับ สหรัฐ (นัดที่ 1; 11 มิถุนายน)
โดนใบเหลือง ใน กลุ่ม เอฟ พบกับ สวีเดน (นัดที่ 2; 16 มิถุนายน)
กลุ่ม เอฟ พบกับ ชิลี (นัดที่ 3; 20 มิถุนายน)
ไนจีเรีย Ngozi Ebere Yellow card Yellow-red card ใน กลุ่ม เอ พบกับ ฝรั่งเศส (นัดที่ 3; 17 มิถุนายน) รอบ 16 ทีมสุดท้าย พบกับ เยอรมนี (22 มิถุนายน)
ไนจีเรีย Rita Chikwelu โดนใบเหลือง ใน กลุ่ม เอ พบกับ เกาหลีใต้ (นัดที่ 2; 12 มิถุนายน)
โดนใบเหลือง ใน กลุ่ม เอ พบกับ ฝรั่งเศส (นัดที่ 3; 17 มิถุนายน)
รอบ 16 ทีมสุดท้าย พบกับ เยอรมนี (22 มิถุนายน)
สวีเดน Fridolina Rolfö โดนใบเหลือง ใน รอบ 16 ทีมสุดท้าย พบกับ แคนาดา (24 มิถุนายน)
โดนใบเหลือง ใน รอบก่อนรองชนะเลิศ พบกับ เยอรมนี (29 มิถุนายน)
รอบรองชนะเลิศ พบกับ เนเธอร์แลนด์ (3 กรกฎาคม)
อังกฤษ Millie Bright Yellow card Yellow-red card ใน รอบรองชนะเลิศ พบกับ สหรัฐ (2 กรกฎาคม) รอบชิงอันดับที่ 3 พบกับ สวีเดน (6 กรกฎาคม)

เงินรางวัล[แก้]

จำนวนเงินรางวัลได้ประกาศในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2018.[63]

ตำแหน่ง มูลค่าเงินรางวัล (ล้าน USD)
ต่อทีม ทั้งหมด
แชมเปียนส์ 4 4
รองชนะเลิศ 2.6 2.6
อันดับ 3 2 2
อันดับ 4 1.6 1.6
อันดับ 5–8 (รอบก่อนรองชนะเลิศ) 1.45 5.8
อันดับ 9–16 (รอบ 16 ทีมสุดท้าย) 1 8
อันดับ 17–24 (รอบแบ่งกลุ่ม) 0.75 6
ทั้งหมด 30

รางวัล[แก้]

ตารางการจัดอันดับ[แก้]

โอลิมปิกรอบคัดเลือก[แก้]

ประเทศ ลำดับที่ ปีที่เข้าร่วม โอลิมปิกฤดูร้อน1
ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 28 มิถุนายน 2019[64] 1 (2012)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 29 มิถุนายน 2019[65] 0 (ครั้งแรก)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 29 มิถุนายน 2019[65] 6 (1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
1 ตัวหนา ประเทศที่คว้าแชมป์ในการแข่งขันครั้งนั้น. ตัวเอียง ประเทศเจ้าภาพในครั้งถัดไป.

การตลาด[แก้]

สัญลักษณ์[แก้]

โปสเตอร์[แก้]

ตุ๊กตาสัญลักษณ์[แก้]

ลูกฟุตบอล[แก้]

ตั๋วเข้าชม[แก้]

สิทธิการออกอากาศ[แก้]

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศจำหน่ายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดโทรทัศน์ ให้แก่บริษัท บางกอกมีเดียแอนด์บรอดคาสติง จำกัด (PPTV) ร่วมกับ บีอินสปอตส์ (BeIn Sports) ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในการถ่ายทอดการแข่งขันฟีฟ่าฟุตบอลโลกหญิง 2019 ผ่านทาง สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี โดย7มีการถ่ายทอดสดกลับมายังประเทศไทยทั้งหมด 7 นัดรวมถึงนัดที่ทีมชาติไทยแข่งขัน ผ่านทางช่อง PPTV HD และ ทางเว็บไซต์ pptvhd36.com จากทั้งหมด 52 นัดของรายการแข่งขัน และ การถ่ายทอดสดทุกนัดจะไม่มีโฆษณาคั่น

สำหรับรายการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกหญิง 2019 มีดังนี้

วันที่ ทีม เวลา
8 มิถุนายน ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส พบ ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 01:30-04:00
12 มิถุนายน ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ พบ ธงชาติไทย ไทย 01:30-04:00
16 มิถุนายน ธงชาติสวีเดน สวีเดน พบ ธงชาติไทย ไทย 19:30-22:00
21 มิถุนายน ธงชาติไทย ไทย พบ ธงชาติชิลี ชิลี 01:30-04:00
2 กรกฎาคม รอบรองชนะเลิศ (คู่แรก)
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ พบ ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
01:30-04:00
3 กรกฎาคม รอบรองชนะเลิศ (คู่ที่สอง)
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ พบ ธงชาติสวีเดน สวีเดน
01:30-04:00
7 กรกฎาคม นัดชิงชนะเลิศ
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ พบ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
21:30-00:00
  • หมายเหตุ รายการถ่ายทอดสดตรงกับเวลาช่วงกลางดึกและเช้าตรู่ตามเวลาในประเทศไทย

ปัญหาและข้อถกเถียง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "France to host the FIFA Women's World Cup in 2019". FIFA.com. 19 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2015-06-18.
  2. "Circular #1565 - FIFA women's tournaments 2018-2019" (PDF). FIFA.com. 11 November 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-12-09.
  3. "FIFA leaves berths unchanged for 2019 Women's World Cup". The Big Story. Associated Press. 15 October 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-30. สืบค้นเมื่อ 29 October 2016.
  4. "All 24 qualified teams now confirmed". FIFA.com. 1 December 2018.
  5. "Women's Ranking". FIFA. 2018-09-28. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-19. สืบค้นเมื่อ 2018-12-07.
  6. "La France organisera la Coupe du monde 2019!". L'Équipe. 19 March 2015.
  7. "The nine host cities confirmed". FIFA. 14 June 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2018-12-08.
  8. "Official Slogan and Emblem of FIFA Women's World Cup France 2019 launched today". FIFA.com. 19 September 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-18. สืบค้นเมื่อ 2018-12-08.
  9. "LE CALENDRIER DU MONDIAL 2019 DÉVOILÉ". FFF. 8 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-04. สืบค้นเมื่อ 2021-09-27.
  10. "Organising Committee takes important decisions on FIFA Women's World Cup". FIFA.com. 1 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-03. สืบค้นเมื่อ 2018-12-08.
  11. "Match schedule for FIFA Women's World Cup France 2019 announced". FIFA.com. 8 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-12. สืบค้นเมื่อ 2018-12-08.
  12. 12.0 12.1 "Regulations – FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-13. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  13. "Match Schedule FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA.com. 8 December 2018.
  14. "Match report – Group A – France v Korea Republic" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  15. "Match report – Group A – Norway v Nigeria" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  16. "Match report – Group F – Nigeria v Korea Republic" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  17. "Match report – Group A – France v Norway" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. "Match report – Group A – Nigeria v France" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  19. "Match report – Group A – Korea Republic v Norway" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  20. "Match report – Group B – Germany v China PR" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  21. "Match report – Group B – Spain v South Africa" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  22. "Match report – Group B – Germany v Spain" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  23. "Match report – Group B – South Africa v China PR" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  24. "Match report – Group B – South Africa v Germany" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  25. "Match report – Group B – China PR v Spain" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  26. "Match report – Group C – Australia v Italy" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  27. "Match report – Group C – Brazil v Jamaica" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  28. "Match report – Group C – Australia v Brazil" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  29. "Match report – Group C – Jamaica v Italy" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  30. "Match report – Group C – Jamaica v Australia" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  31. "Match report – Group C – Italy v Brazil" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  32. "Match report – Group D – England v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  33. "Match report – Group D – Argentina v Japan" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  34. "Match report – Group D – Japan v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  35. "Match report – Group D – England v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  36. "Match report – Group D – Japan v England" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  37. "Match report – Group D – Scotland v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  38. "Match report – Group E – Canada v Cameroon" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  39. "Match report – Group E – New Zealand v Netherlands" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  40. "Match report – Group E – Netherlands v Cameroon" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  41. "Match report – Group E – Canada v New Zealand" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  42. "Match report – Group E – Netherlands v Canada" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  43. "Match report – Group E – Cameroon v New Zealand" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  44. "Match report – Group F – Chile v Sweden" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  45. "Match report – Group F – Sweden v Thailand" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  46. "Match report – Group F – USA v Chile" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  47. "Match report – Round of 16 – Germany v Nigeria" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  48. "Match report – Round of 16 – Norway v Australia" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  49. "Match report – Round of 16 – England v Cameroon" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 23 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  50. "Match report – Round of 16 – France v Brazil" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 23 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  51. "Match report – Round of 16 – Spain v USA" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  52. "Match report – Round of 16 – Sweden v Canada" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  53. "Match report – Round of 16 – Italy v China PR" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 25 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  54. "Match report – Round of 16 – Netherlands v Japan" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 25 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  55. "Match report – Quarter-final – Norway v England" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 27 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  56. "Match report – Quarter-final – France v USA" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  57. "Match report – Quarter-final – Italy v Netherlands" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 29 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  58. "Match report – Quarter-final – Germany v Sweden" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 29 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  59. "Match report – Semi-finals – England v USA" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  60. "Match report – Semi-finals – Netherlands v Sweden" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  61. "Match report – Match for third place – England v Sweden" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  62. "Match report – Final – USA v Netherlands" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  63. "Statistical Kit – FIFA Women's World Cup" (PDF). FIFA. 25 April 2019. p. 60. สืบค้นเมื่อ 23 June 2019.
  64. "Lionesses secure Olympic spot for Great Britain". FIFA.com. 28 June 2019.
  65. 65.0 65.1 "Netherlands and Sweden secure Tokyo tickets". FIFA.com. 29 June 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]