ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลกหญิง 2011

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2011 FIFA Women's World Cup)
FIFA Women's World Cup 2011
FIFA Frauen-Weltmeisterschaft Deutschland 2011
Official logo
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพGermany
วันที่26 June – 17 July
ทีม16 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่9 (ใน 9 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
อันดับที่ 3ธงชาติสวีเดน สวีเดน
อันดับที่ 4ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู86 (2.69 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม845,751 (26,430 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดญี่ปุ่น Homare Sawa
(5 goals)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมญี่ปุ่น Homare Sawa
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมสหรัฐอเมริกา Hope Solo
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมออสเตรเลีย Caitlin Foord
2007
2015

ฟุตบอลโลกหญิง 2011 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง ครั้งที่ 6 จะถูกจัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนี ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ของปี พ.ศ. 2554

ทีมชาติเยอรมนีได้รับสิทธิเข้าร่วมแข่งขันในฐานะเจ้าภาพ โดยอัตโนมัติ

การคัดเลือกเจ้าภาพ

[แก้]
ชาติเสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 6 ชาติ

ฟุตบอลโลกหญิง 2011 มีชาติเสนอตัวเป็นเจ้าภาพทั้งหมด 6 ชาติ โดยเยอรมนีได้รับเลือกเป็นเจ้าภาพและประกาศเมื่อ ตุลาคม 2550

การคัดเลือก

[แก้]
  Countries qualified for World Cup
  Country failed to qualify
  Countries that did not enter World Cup
  Country not a FIFA member

การแข่งขันรอบคัดเลือกเริ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2553

ทีมที่ร่วมแข่งขัน

[แก้]
ประเทศที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
การแข่งขัน วันที่ สถานที่ ทีม ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
เจ้าภาพ   1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2011 19–30 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ธงของประเทศจีน จีน 3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2010 31 ตุลาคม – 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 2 ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2010 28 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก 3 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
ฟุตบอลหญิงโกปาอาเมริกา 2010 4-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 2 ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2010 29 กันยายน – 8 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง ฟีฟ่า ยูฟ่า 2011 รอบแบ่งกลุ่ม 4 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
รวม 20 Field is Finalized

† – qualified via a play-off against Italy

สนามแข่งขัน

[แก้]
Berlin Frankfurt Mönchengladbach Sinsheim
Olympic Stadium Commerzbank-Arena Borussia-Park Rhein-Neckar-Arena
Capacity: 73,680 Capacity: 48,837 Capacity: 45,860 Capacity: 30,150
Leverkusen
ฟุตบอลโลกหญิง 2011 (เยอรมนี)
Wolfsburg
BayArena Volkswagen-Arena
Capacity: 29,708 Capacity: 26,062
Dresden Augsburg
Glücksgas Stadium Impuls Arena
Capacity: 25,582 Capacity: 24,661
Bochum
Ruhrstadion
Capacity: 20,556

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

Group A

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 3 0 0 7 3 +4 9
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 2 0 1 7 4 +3 6
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 1 0 2 1 2 −1 3
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 0 0 3 1 7 −6 0
ไนจีเรีย ธงชาติไนจีเรีย0–1ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
Report Delie ประตู 56'
ผู้ชม: 25,475
ผู้ตัดสิน: Kari Seitz (United States)[1]

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี2–1ธงชาติแคนาดา แคนาดา
Garefrekes ประตู 10'
Okoyino da Mbabi ประตู 42'
Report Sinclair ประตู 82'
ผู้ชม: 73,680
ผู้ตัดสิน: Jacqui Melksham (Australia)[1]

แคนาดา ธงชาติแคนาดา0–4ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
Report Thiney ประตู 24'60'
Abily ประตู 66'
Thomis ประตู 83'
ผู้ชม: 16,591
ผู้ตัดสิน: Etsuko Fukano (Japan)[2]

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี1–0ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
Laudehr ประตู 54' Report
ผู้ชม: 48,817
ผู้ตัดสิน: Cha Sung Mi (Korea Republic)[2]

ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส2–4ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
Delie ประตู 56'
Georges ประตู 72'
Report Garefrekes ประตู 25'
Grings ประตู 32'68' (ลูกโทษ)
Okoyino da Mbabi ประตู 88'
ผู้ชม: 45,867
ผู้ตัดสิน: Kirsi Heikkinen (Finland)[3]

แคนาดา ธงชาติแคนาดา0–1ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
Report Nkwocha ประตู 84'
ผู้ชม: 13,638
ผู้ตัดสิน: Finau Vulivuli (Fiji)[3]

Group B

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 3 2 1 0 5 2 +3 7
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 2 0 1 6 3 +3 6
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 0 2 1 3 7 −4 2
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 0 1 2 4 6 −2 1
ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น2–1ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
Nagasato ประตู 6'
Miyama ประตู 68'
Report Hearn ประตู 12'
ผู้ชม: 12,538
ผู้ตัดสิน: Kirsi Heikkinen (Finland)[1]

เม็กซิโก ธงชาติเม็กซิโก1–1ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
Ocampo ประตู 33' Report Williams ประตู 21'
ผู้ชม: 18,702
ผู้ตัดสิน: Silvia Reyes (Peru)[1]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น4–0ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
Sawa ประตู 13'39'80'
Ohno ประตู 15'
Report
ผู้ชม: 22,291
ผู้ตัดสิน: Christina W. Pedersen (Norway)[2]

นิวซีแลนด์ ธงชาตินิวซีแลนด์1–2ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
Gregorius ประตู 18' Report J. Scott ประตู 63'
Clarke ประตู 81'
ผู้ชม: 19,110
ผู้ตัดสิน: Therese Neguel (Cameroon)[2]

อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–0ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
E. White ประตู 15'
Yankey ประตู 66'
Report
ผู้ชม: 20,777
ผู้ตัดสิน: Carol Anne Chenard (Canada)[3]

นิวซีแลนด์ ธงชาตินิวซีแลนด์2–2ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
Smith ประตู 90'
Wilkinson ประตู 90+4'
Report Mayor ประตู 2'
Domínguez ประตู 29'
ผู้ชม: 20,451
ผู้ตัดสิน: Jenny Palmqvist (Sweden)[3]

Group C

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 3 0 0 4 1 +3 9
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 3 2 0 1 6 2 +4 6
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 3 0 1 2 0 3 −3 1
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 0 1 2 0 4 −4 1
โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย0–1ธงชาติสวีเดน สวีเดน
Report Landström ประตู 57'
ผู้ชม: 21,106
ผู้ตัดสิน: Carol Anne Chenard (Canada)[1]

สหรัฐ ธงชาติสหรัฐอเมริกา2–0ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
Cheney ประตู 54'
Buehler ประตู 76'
Report
ผู้ชม: 21,859
ผู้ตัดสิน: Bibiana Steinhaus (Germany)[1]

เกาหลีเหนือ ธงชาติเกาหลีเหนือ0–1ธงชาติสวีเดน สวีเดน
Report Dahlkvist ประตู 64'
ผู้ชม: 23,768
ผู้ตัดสิน: Estela Álvarez (Argentina)[2]

สหรัฐ ธงชาติสหรัฐอเมริกา3–0ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
O'Reilly ประตู 12'
Rapinoe ประตู 50'
Lloyd ประตู 57'
Report
ผู้ชม: 25,475
ผู้ตัดสิน: Dagmar Damková (Czech Republic)[2]

สวีเดน ธงชาติสวีเดน2–1ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
Dahlkvist ประตู 16' (ลูกโทษ)
Fischer ประตู 35'
Report Wambach ประตู 67'
ผู้ชม: 23,468
ผู้ตัดสิน: Etsuko Fukano (Japan)[3]

เกาหลีเหนือ ธงชาติเกาหลีเหนือ0–0ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
Report
ผู้ชม: 7,805
ผู้ตัดสิน: Christina W. Pedersen (Norway)[3]

Group D

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ธงชาติบราซิล บราซิล 3 3 0 0 7 0 +7 9
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 2 0 1 5 4 +1 6
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 3 1 0 2 2 5 −3 3
ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี 3 0 0 3 2 7 −5 0

บราซิล ธงชาติบราซิล1–0ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Rosana ประตู 54' Report
ผู้ชม: 27,258
ผู้ตัดสิน: Jenny Palmqvist (Sweden)[1]

ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย3–2ธงชาติอิเควทอเรียลกินี อิเควทอเรียลกินี
Khamis ประตู 8'
van Egmond ประตู 48'
De Vanna ประตู 51'
Report Añonma ประตู 21'83'
ผู้ชม: 15,640
ผู้ตัดสิน: Gyöngyi Gaál (Hungary)[2]

บราซิล ธงชาติบราซิล3–0ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
Marta ประตู 22'48'
Rosana ประตู 46'
Report
ผู้ชม: 26,067
ผู้ตัดสิน: Kari Seitz (United States)[2]


ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย2–1ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
Simon ประตู 57'87' Report Thorsnes ประตู 56'
ผู้ชม: 18,474
ผู้ตัดสิน: Estela Álvarez (Argentina)[3]

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
9 July — Wolfsburg        
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  0
13 July — Frankfurt
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (a.e.t.)  1  
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  3
10 July — Augsburg
   ธงชาติสวีเดน สวีเดน  1  
 ธงชาติสวีเดน สวีเดน  3
17 July — Frankfurt
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  1  
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (pen.)  2 (3)
9 July — Leverkusen
   ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา  2 (1)
 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ  1 (3)
13 July — Mönchengladbach
 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (pen.)  1 (4)  
 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  1 ชิงอันดับที่ 3
10 July — Dresden
   ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา  3  
 ธงชาติบราซิล บราซิล  2 (3)  ธงชาติสวีเดน สวีเดน  2
 ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา (pen.)  2 (5)    ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  1
16 July — Sinsheim

รอบก่อนรองชนะเลิศ

[แก้]


สวีเดน ธงชาติสวีเดน3–1ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
Sjögran ประตู 10'
Dahlkvist ประตู 16'
Schelin ประตู 52'
Report Perry ประตู 40'
ผู้ชม: 24,605
ผู้ตัดสิน: Silvia Reyes (Peru)[4]

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส1–3ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
Bompastor ประตู 55' Report Cheney ประตู 9'
Wambach ประตู 79'
Morgan ประตู 82'
ผู้ชม: 25,676
ผู้ตัดสิน: Kirsi Heikkinen (Finland)[5]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น3–1ธงชาติสวีเดน สวีเดน
Kawasumi ประตู 19'64'
Sawa ประตู 60'
Report Öqvist ประตู 10'
ผู้ชม: 45,434
ผู้ตัดสิน: Carol Anne Chenard (Canada)[5]

รอบชิงอันดับที่ 3

[แก้]
สวีเดน ธงชาติสวีเดน2–1ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
Schelin ประตู 29'
Hammarström ประตู 82'
Report Thomis ประตู 56'
ผู้ชม: 25,515
ผู้ตัดสิน: Kari Seitz (United States)[6]

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

ผลการแข่งขัน

[แก้]
 ผู้ชนะการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2011 
ธงชาติญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
สมัยที่ 1

รางวัลนักเตะยอดเยี่ยม (ลูกบอลทองคำ)

[แก้]
ลูกบอลทองคำ ลูกบอลเงิน ลูกบอลทองแดง
ญี่ปุ่น Homare Sawa สหรัฐอเมริกา Abby Wambach สหรัฐอเมริกา Hope Solo

รางวัลผู้ทำประตูยอดเยี่ยม (รองเท้าทองคำ)

[แก้]
รองเท้าทองคำ รองเท้าเงิน รองเท้าทองแดง
ญี่ปุ่น Homare Sawa บราซิล Marta สหรัฐอเมริกา Abby Wambach

Other awards

[แก้]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม ผู้เล่นดาวรุ่ง รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
สหรัฐอเมริกา Hope Solo ออสเตรเลีย Caitlin Foord ญี่ปุ่น Japan

ทีมรวมดาว

[แก้]
Goalkeepers Defenders Midfielders Forwards

ญี่ปุ่น Ayumi Kaihori
สหรัฐอเมริกา Hope Solo

ออสเตรเลีย Elise Kellond-Knight
บราซิล Érika
อังกฤษ Alex Scott
ฝรั่งเศส Sonia Bompastor
ฝรั่งเศส Laura Georges
เยอรมนี Saskia Bartusiak

อังกฤษ Jill Scott
อิเควทอเรียลกินี Genoveva Añonma
ฝรั่งเศส Louisa Nécib
ญี่ปุ่น Aya Miyama
ญี่ปุ่น Shinobu Ohno
ญี่ปุ่น Homare Sawa
เยอรมนี Kerstin Garefrekes
สวีเดน Caroline Seger
สหรัฐอเมริกา Shannon Boxx
สหรัฐอเมริกา Lauren Cheney

บราซิล Marta
สวีเดน Lotta Schelin
สหรัฐอเมริกา Abby Wambach

รางวัล

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 "Schiedsrichterinnen für die Spiele 1 bis 8 benannt". FIFA. 24 June 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-03. สืบค้นเมื่อ 24 June 2011.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 "Schiedsrichterinnen für die Spiele 9 bis 16 benannt". FIFA. 28 June 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-03. สืบค้นเมื่อ 28 June 2011.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 "Bibiana Steinhaus pfeift Äquatorial-Guinea gegen Brasilien". dfb.de. 4 July 2011. สืบค้นเมื่อ 4 July 2011.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 "Mexikanerin Alvarado leitet deutsches Viertelfinale". dfb.de. 8 July 2011. สืบค้นเมื่อ 8 July 2011.
  5. 5.0 5.1 "FIFA Women's World Cup 2011 – Semi-finals". refereeingworld.blogspot.com. 11 July 2011. สืบค้นเมื่อ 11 July 2011.
  6. "FIFA Women's World Cup 2011 – Third Place Match: Seitz (USA)". refereeingworld.blogspot.com. 14 July 2011. สืบค้นเมื่อ 14 July 2011.
  7. "FIFA Women's World Cup Final 2011: Steinhaus (GER)". refereeingworld.blogspot.com. 15 July 2011. สืบค้นเมื่อ 15 July 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]