สังกะสีออกไซด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สังกะสีออกไซด์
Zinc oxide.jpg
ชื่ออื่น Zinc white, Calamine, philosopher's wool, Chinese white, flowers of zinc
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [1314-13-2][CAS]
PubChem 14806
EC number 215-222-5
ChEBI 36560
RTECS number ZH4810000
ATC code A07XA91
ChemSpider ID 14122
คุณสมบัติ
สูตรเคมี ZnO
มวลต่อหนึ่งโมล 81.38 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น 5.606 g/cm3
จุดหลอมเหลว

1975 °C, 2248 K, 3587 °F ((สลายตัว)[1])

จุดเดือด

1975 °C, 2248 K, 3587 °F ((สลายตัว))

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ ไม่ละลายน้ำ
ดัชนีหักเหแสง (nD) 2.0041
โครงสร้าง
โครงสร้างผลึก Wurtzite
Space group C6v4-P63mc
Coordination
geometry
Tetrahedral
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation
ΔfHo298
-348.0 kJ/mol
Standard molar
entropy
So298
43.9 J·K−1mol−1
ความอันตราย
MSDS ICSC 0208
การจำแนกของ EU อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม (N)
EU Index 030-013-00-7
NFPA 704
NFPA 704.svg
1
2
0
W
R-phrases R50/53
S-phrases S60, S61
LD50 240 mg/kg (ทางช่องท้อง, rat)[2]
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

สังกะสีออกไซด์ (Zinc oxide) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมี ZnO มีลักษณะเป็นผงที่ไม่ละลายในน้ำและใช้ผสมในผลิตภัณฑ์หลายชนิดเช่น ยาง พลาสติก เซรามิก แก้ว น้ำมันเครื่อง[3] สีทา สารยึดเกาะ อาหาร แบตเตอรี และอื่น ๆ ในธรรมชาติพบในรูปซินไซต์ แต่ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ [4]

ในสมัยโบราณเรียกฝุ่นจีน หญิงจีนและญี่ปุ่นใช้เป็นแป้งผัดหน้า ใช้ผสมในยาแก้ฝีหนอง โรคผิวหนัง ปัจจุบันใช้ผสมในเครื่องสำอาง[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. Takahashi, Kiyoshi; Yoshikawa, Akihiko; Sandhu, Adarsh (2007). Wide bandgap semiconductors: fundamental properties and modern photonic and electronic devices. Springer. p. 357. ISBN 3-540-47234-7.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. http://chem.sis.nlm.nih.gov/chemidplus/rn/1314-13-2
  3. Hernandezbattez, A; Gonzalez, R; Viesca, J; Fernandez, J; Diazfernandez, J; MacHado, A; Chou, R; Riba, J (2008). "CuO, ZrO2 and ZnO nanoparticles as antiwear additive in oil lubricants". Wear. 265 (3–4): 422. doi:10.1016/j.wear.2007.11.013.
  4. Marcel De Liedekerke, "2.3. Zinc Oxide (Zinc White): Pigments, Inorganic, 1" in Ullmann's Encyclopdia of Industrial Chemistry, 2006, Wiley-VCH, Weinheim. doi:10.1002/14356007.a20_243.pub2
  5. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556. หน้า 126 - 127