โซเดียมซัลเฟต
หน้าตา
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
Sodium sulfate
| |||
ชื่ออื่น
Sodium sulphate
Disodium sulfate Sulfate of sodium Thenardite (anhydrous mineral) Glauber's salt (decahydrate) Sal mirabilis (decahydrate) Mirabilite (decahydrate mineral) | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.028.928 | ||
เลขอี | E514(i) (acidity regulators, ...) | ||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII |
| ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
Na2SO4 | |||
มวลโมเลกุล | 142.04 g/mol (anhydrous) 322.20 g/mol (decahydrate) | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ผลึกของแข็งสีขาว hygroscopic | ||
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น | ||
ความหนาแน่น | 2.664 g/cm3 (anhydrous) 1.464 g/cm3 (decahydrate) | ||
จุดหลอมเหลว | 884 องศาเซลเซียส (1,623 องศาฟาเรนไฮต์; 1,157 เคลวิน) (anhydrous) 32.38 °C (decahydrate) | ||
จุดเดือด | 1,429 องศาเซลเซียส (2,604 องศาฟาเรนไฮต์; 1,702 เคลวิน) (anhydrous) | ||
anhydrous: 4.76 g/100 mL (0 °C) 28.1 g/100 mL (25 °C)[1] 42.7 g/100 mL (100 °C) heptahydrate: 19.5 g/100 mL (0 °C) 44 g/100 mL (20 °C) | |||
ความสามารถละลายได้ | ไม่ละลายในเอทานอล ละลายได้ในกลีเซอรอล, น้ำ และไฮโดรเจนไอโอไดด์ | ||
−52.0·10−6 cm3/mol | |||
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.468 (anhydrous) 1.394 (decahydrate) | ||
โครงสร้าง | |||
orthorhombic (anhydrous)[2] monoclinic (decahydrate) | |||
เภสัชวิทยา | |||
A06AD13 (WHO) A12CA02 | |||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
ระคายเคือง | ||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 0952 | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
แอนไอออนอื่น ๆ
|
Sodium selenate Sodium tellurate | ||
แคทไอออนอื่น ๆ
|
ลิเทียมซัลเฟต โพแทสเซียมซัลเฟต รูบิเดียมซัลเฟต ซีเซียมซัลเฟต | ||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
Sodium bisulfate โซเดียมซัลไฟต์ Sodium persulfate Sodium pyrosulfate | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
โซเดียมซัลเฟต (อังกฤษ: Sodium sulfate) เป็นเกลือโซเดียมของกรดกำมะถัน เมื่อปราศจากน้ำจะเป็นผลึกสีขาว มีสูตร Na2SO4 เรียกว่าเกลือของ Glauber ของแข็งอีกรูปหนึ่งจะมีน้ำ 7 โมเลกุล ใช้ในทางอุตสาหกรรม เช่นในอุตสาหกรรมกระดาษ รูปที่พบในธรรมชาติจะมีน้ำ 10 โมเลกุล เกิดเป็นผลพลอยได้ในการผลิตกรดไฮโดรคลอริก[3]
โซเดียมซัลเฟตรูปที่มีโมเลกุลของน้ำ 10 โมเลกุลเรียกว่าดีเกลือไทย ได้มาจากการทำนาเกลือ ในตำรับยาโบราณใช้เป็นยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ ใช้ผสมในน้ำแข็งเพื่อเพิ่มความเย็น ใช้ในอุตสาหกรรมย้อมผ้าและพิมพ์ผ้า [4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ National Center for Biotechnology Information. PubChem Compound Summary for CID 24436, Sodium sulfate. https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/Sodium-sulfate. Accessed Nov. 2, 2020.
- ↑ Zachariasen WH, Ziegler GE (1932). "The crystal structure of anhydrous sodium sulfate Na2SO4". Zeitschrift für Kristallographie, Kristallgeometrie, Kristallphysik, Kristallchemie. Wiesbaden: Akademische Verlagsgesellschaft. 81 (1–6): 92–101. doi:10.1524/zkri.1932.81.1.92. S2CID 102107891.
- ↑ Butts, D. (1997). Kirk-Othmer Encyclopedia of Chemical Technology. v22 (4th ed.). pp. 403–411
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.หน้า 85
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Calculators: surface tensions เก็บถาวร 2020-02-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, and densities, molarities, and molalities เก็บถาวร 2020-02-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน of aqueous sodium sulfate