ลิเทียมคาร์บอเนต
Lithium carbonate | |
---|---|
![]() | |
![]() | |
ชื่อตาม IUPAC | Lithium carbonate |
ชื่ออื่น | Dilithium carbonate, Carbolith, Cibalith-S, Duralith, Eskalith, Lithane, Lithizine, Lithobid, Lithonate, Lithotabs Priadel, Zabuyelite |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [554-13-2][CAS] |
PubChem | |
KEGG | |
ChEBI | |
RTECS number | OJ5800000 |
SMILES | |
InChI | |
ChemSpider ID | |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | Li2CO3 |
มวลต่อหนึ่งโมล | 73.89 |
ลักษณะทางกายภาพ | Odorless white powder |
ความหนาแน่น | 2.11 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว |
723 °C, 996 K, 1333 °F |
จุดเดือด |
1310 °C, 1583 K, 2390 °F |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | 1.54 g/100 mL (0 °C) 1.43 g/100 mL (10 °C) 1.29 g/100 mL (25 °C) 1.08 g/100 mL (40 °C) 0.69 g/100 mL (100 °C)[1] |
ความสามารถละลายได้ | Insoluble in acetone, ammonia, alcohol[2] |
−27.0·10−6 cm3/mol | |
ดัชนีหักเหแสง (nD) | 1.428[3] |
ความหนืด | 4.64 cP (777 °C) 3.36 cP (817 °C)[2] |
อุณหเคมี | |
Std enthalpy of formation ΔfH |
-1215.6 kJ/mol[2] |
Standard molar entropy S |
90.37 J/mol·K[2] |
ความจุความร้อนจำเพาะ | 97.4 J/mol·K[2] |
ความอันตราย | |
GHS pictograms | ![]() |
อันตรายหลัก | Irritant |
จุดวาบไฟ | Non-flammable |
LD50 | 525 mg/kg (oral, rat)[4] |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
ลิเทียมคาร์บอเนต (Lithium carbonate) เป็นสารประกอบอนินทรีย์มีสูตรเป็น Li2CO3 เป็นเกลือลิเทียมของคาร์บอเนต มีลักษณะเป็นเกลือสีขาวไม่ละลายน้ำ มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในการสร้างโลหะออกไซด์ เนื่องจากใช้ในการรักษาโรคอารมณ์สองขั้ว ลิเทียมคาร์บอเนตอยู่ในรายชื่อของยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลกซึ่งเป็นยาที่สำคัญที่สุดที่จำเป็นในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน[6] สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยการรวมลิเทียมออกไซด์หรือลิเทียมไฮดรอกไซด์กับคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถที่จะทำปฏิกิริยากับกรดกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และสามารถทำปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์ชั่วคราวเพื่อทำไบคาร์บอเนต
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Seidell, Atherton; Linke, William F. (1952). Solubilities of Inorganic and Organic Compounds. Van Nostrand.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "lithium carbonate". Chemister.ru. 2007-03-19. สืบค้นเมื่อ 2017-01-02.
- ↑ Pradyot Patnaik. Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill, 2002, ISBN 0-07-049439-8
- ↑ Michael Chambers. "ChemIDplus - 554-13-2 - XGZVUEUWXADBQD-UHFFFAOYSA-L - Lithium carbonate [USAN:USP:JAN] - Similar structures search, synonyms, formulas, resource links, and other chemical information". Chem.sis.nlm.nih.gov. สืบค้นเมื่อ 2017-01-02.
- ↑ แม่แบบ:Sigma-Aldrich
- ↑ "WHO Model List of Essential Medicines" (PDF). World Health Organization. October 2013. สืบค้นเมื่อ 22 April 2014.