รัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
  สมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
  อดีตสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ (สาธารณรัฐไอร์แลนด์และซิมบับเว)
  ดินแดนโพ้นทะเลของอังกฤษและคราวน์ดีเพนเดนซี (Crown Dependencies)

ต่อไปนี้คือรัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติเรียงตามชื่อตามภาษาอังกฤษ

สมาชิกปัจจุบัน[แก้]

ข้อมูลจากสำนักเลขาธิการเครือจักรภพแห่งชาติ และประชากรเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2020[1]

ประเทศ เข้าร่วมครั้งแรก ภูมิภาคยูเอ็น อนุภูมิภาคยูเอ็น ประชากร[2] ระบอบการปกครอง
 แอนทีกาและบาร์บิวดา 1 พฤศจิกายน 1981 อเมริกา แคริบเบียน 94,195 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 ออสเตรเลีย 19 พฤศจิกายน 1926 โอเชียเนีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ 25,766,600 สหพันธรัฐ ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 บาฮามาส 10 กรกฎาคม 1973 อเมริกา แคริบเบียน 402,576 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 บังกลาเทศ 18 เมษายน 1972[3] เอเชีย เอเชียใต้ 165,867,307 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 บาร์เบโดส 30 พฤศจิกายน 1966 อเมริกา แคริบเบียน 286,618 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 เบลีซ 21 กันยายน 1981 อเมริกา อเมริกากลาง 379,636 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 บอตสวานา 30 กันยายน 1966 แอฟริกา แอฟริกาใต้ 2,377,831 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร
 บรูไน 1 มกราคม 1984 เอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 439,022 รัฐเดี่ยว อิสลาม สมบูรณาญาสิทธิราชย์
 แคเมอรูน 13 พฤศจิกายน 1995[4] แอฟริกา แอฟริกากลาง 24,836,674 รัฐเดี่ยว กึ่งประธานาธิบดี
 แคนาดา 19 พฤศจิกายน 1926 อเมริกา อเมริกาเหนือ 37,653,350 สหพันธรัฐ ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 ไซปรัส 13 มีนาคม 1961[5] เอเชีย เอเชียตะวันตก 1,197,667 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 ดอมินีกา 3 พฤศจิกายน 1978 อเมริกา แคริบเบียน 72,975 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 เอสวาตินี 6 กันยายน 1968 แอฟริกา แอฟริกาใต้ 1,336,933 รัฐเดี่ยว สมบูรณาญาสิทธิราชย์
 ฟีจี 10 ตุลาคม 1970 โอเชียเนีย เมลานีเชีย 909,024 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 กาบอง 25 มิถุนายน 2022 แอฟริกา แอฟริกากลาง 2,233,272 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 แกมเบีย 18 กุมภาพันธ์ 1965 แอฟริกา แอฟริกาตะวันตก 2,155,958 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 กานา 6 มีนาคม 1957 แอฟริกา แอฟริกาตะวันตก 29,088,849 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 กรีเนดา 7 กุมภาพันธ์ 1974 อเมริกา แคริบเบียน 107,894 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 กายอานา 26 พฤษภาคม 1966 อเมริกา อเมริกาใต้ 773,808 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 อินเดีย 15 สิงหาคม 1947 เอเชีย เอเชียใต้ 1,353,014,094 สหพันธรัฐ สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 จาเมกา 6 สิงหาคม 1962 อเมริกา แคริบเบียน 2,819,888 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 เคนยา 12 ธันวาคม 1963 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 49,167,382 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 คิริบาส 12 กรกฎาคม 1979 โอเชียเนีย ไมโครนีเชีย 117,636 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร
 เลโซโท 4 ตุลาคม 1966 แอฟริกา แอฟริกาใต้ 2,199,492 รัฐเดี่ยว เวสต์มินสเตอร์ ราชาธิปไตย
 มาลาวี 6 กรกฎาคม 1964 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 18,558,768 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 มาเลเซีย 31 สิงหาคม 1957[6][7] เอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 31,505,208 สหพันธรัฐ เวสต์มินสเตอร์ ราชาธิปไตย
 มัลดีฟส์ 9 กรกฎาคม 1982 เอเชีย เอเชียใต้ 515,696 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 มอลตา 21 กันยายน 1964 ยุโรป ยุโรปใต้ 422,212 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 มอริเชียส 12 มีนาคม 1968 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 1,286,240 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 โมซัมบิก 13 พฤศจิกายน 1995[8] แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 29,977,238 รัฐเดี่ยว กึ่งสาธารณรัฐประธานาธิบดี
 นามิเบีย 21 มีนาคม 1990 แอฟริกา แอฟริกาใต้ 2,600,857 รัฐเดี่ยว กึ่งสาธารณรัฐประธานาธิบดี
 นาอูรู 1 พฤศจิกายน 1968 โอเชียเนีย ไมโครนีเชีย 10,387 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร
 นิวซีแลนด์ 19 พฤศจิกายน 1926 โอเชียเนีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ 4,609,755 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 ไนจีเรีย 1 ตุลาคม 1960 แอฟริกา แอฟริกาตะวันตก 194,615,054 สหพันธรัฐ สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 ปากีสถาน 14 สิงหาคม 1947 เอเชีย เอเชียใต้ 229,494,441 สหพันธรัฐ สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 ปาปัวนิวกินี 16 กันยายน 1975 โอเชียเนีย เมลานีเชีย 8,034,630 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 รวันดา 29 พฤศจิกายน 2009[9] แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 12,322,920 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 เซนต์คิตส์และเนวิส 19 กันยายน 1983 อเมริกา แคริบเบียน 56,632 สหพันธรัฐ ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 เซนต์ลูเชีย 22 กุมภาพันธ์ 1979 อเมริกา แคริบเบียน 189,000 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 27 ตุลาคม 1979 อเมริกา แคริบเบียน 109,501 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 ซามัว 28 สิงหาคม 1970 โอเชียเนีย พอลินีเชีย 196,954 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 เซเชลส์ 29 มิถุนายน 1976 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 98,248 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 เซียร์ราลีโอน 27 เมษายน 1961 แอฟริกา แอฟริกาตะวันตก 6,818,117 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 สิงคโปร์ 9 สิงหาคม 1966 เอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5,889,117 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 หมู่เกาะโซโลมอน 7 กรกฎาคม 1978 โอเชียเนีย เมลานีเชีย 614,497 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 แอฟริกาใต้ 19 พฤศจิกายน 1926 แอฟริกา แอฟริกาใต้ 56,007,479 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร
 ศรีลังกา 4 กุมภาพันธ์ 1948 เอเชีย เอเชียใต้ 20,979,811 รัฐเดี่ยว กึ่งสาธารณรัฐประธานาธิบดี
 แทนซาเนีย 9 ธันวาคม 1961 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 57,790,062 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 โตโก 25 มิถุนายน 2022 แอฟริกา แอฟริกาตะวันตก 8,608,444 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 ตองงา 4 มิถุนายน 1970 โอเชียเนีย พอลินีเชีย 107,228 รัฐเดี่ยว ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
 ตรินิแดดและโตเบโก 31 สิงหาคม 1962 อเมริกา แคริบเบียน 1,376,801 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 ตูวาลู 1 ตุลาคม 1978 โอเชียเนีย พอลินีเชีย 10,116 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 ยูกันดา 9 ตุลาคม 1962 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 42,288,962 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี
 สหราชอาณาจักร 19 พฤศจิกายน 1926 ยุโรป ยุโรปเหนือ 65,746,853 รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ
 วานูวาตู 30 กรกฎาคม 1980 โอเชียเนีย เมลานีเชีย 279,953 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์
 แซมเบีย 24 ตุลาคม 1964 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 17,470,471 รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี

อดีตสมาชิก[แก้]

ประเทศ เข้าร่วม ภูมิภาคยูเอ็น อนุภูมิภาคยูเอ็น ถอนตัว
 ไอร์แลนด์ 19 พฤศจิกายน 1926 ยุโรป ยุโรปเหนือ 18 เมษายน 1949
 ซิมบับเว 1 ตุลาคม 1980 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 7 ธันวาคม 2003

สมาชิกล่มสลาย[แก้]

อดีตประเทศ เข้าร่วม ภูมิภาคยูเอ็น อนุภูมิภาคยูเอ็น ล่มสลาย เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ
สหพันธรัฐมาลายา มาลายา 31 สิงหาคม 1957 เอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 16 กันยายน 1963[7]  มาเลเซีย
นิวฟันด์แลนด์ 19 พฤศจิกายน 1926 อเมริกา อเมริกาเหนือ 31 มีนาคม 1949  แคนาดา
ดินแดนแทนกันยีกา แทนกันยีกา 9 ธันวาคม 1961 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 26 เมษายน 1964  แทนซาเนีย
แซนซิบาร์ 10 ธันวาคม 1963

คาดหวังเป็นสมาชิก[แก้]

ประเทศ การสมัคร ภูมิภาคยูเอ็น อนุภูมิภาคยูเอ็น ประชากร
 โซมาลีแลนด์ 2009 (เป็นผู้สังเกตการณ์)[10] แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก ~3,500,000
 ซูดานใต้ 2011[11] แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 13,670,642
 ซูรินาม[12] 2012 อเมริกา อเมริกาใต้ 555,934
 บุรุนดี[13] 2013 แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 10,524,117
 ซิมบับเว 2018[14] แอฟริกา แอฟริกาตะวันออก 16,150,362

ผู้สมัครอื่น[แก้]

ปัจจุบันเครือจักรภพแห่งประชาชาติมี 56 สมาชิก

รัฐอื่น ๆ ที่แสดงความสนใจเข้าร่วมเครือจักรภพในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหรือรัฐที่อาจมีสิทธิ์เข้าร่วมเครือจักรภพ ได้แก่ บาห์เรน,[15] กัมพูชา,[15] อียิปต์,[15] ลิเบีย,[15] เนปาล,[16][17] และเยเมน[18][19]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Members". Commonwealth Secretariat. สืบค้นเมื่อ 15 February 2008.
  2. "World population - Countrymeters". สืบค้นเมื่อ 6 March 2018.
  3. Kohen, Marcelo G. (2006). Secession. London: Cambridge University Press. p. 122. ISBN 978-0-521-84928-9.
  4. Pondi, Jean-Emmanuel (October 1997). "Cameroon and the Commonwealth of Nations". The Round Table. 86 (344): 563–570. doi:10.1080/00358539708454389.
  5. McIntyre, W. David (January 2000). "Britain and the creation of the Commonwealth Secretariat". Journal of Imperial and Commonwealth History. 28 (1): 135–158. doi:10.1080/03086530008583082. S2CID 159673400.
  6. Federation of Malaya Independence Act 1957
  7. 7.0 7.1 Malaysia Act 1963
  8. Ingram, Derek (April 1996). "Commonwealth Update". The Round Table. 85 (338): 153–165. doi:10.1080/00358539608454302.
  9. Josh Kron (29 November 2009). "Rwanda Joins the Commonwealth". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 29 November 2009.
  10. Somaliland on verge of observer status in the Commonwealth. Qaran News, 16 November 2009
  11. "South Sudan Launches Bid to Join Commonwealth". gurtong.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-11. สืบค้นเมื่อ 2022-08-06.
  12. "Welcome to Allvoices". allvoices.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-25.
  13. "Burundi Applies to Join Commonwealth to Bolster Angolophone Ties". Bloomberg.com (ภาษาอังกฤษ). 13 November 2013.
  14. Adebayo, Bukola (21 May 2018). "Zimbabwe applies to re-join Commonwealth, 15 years after leaving". CNN.
  15. 15.0 15.1 15.2 15.3 te Velde-Ashworth, Victoria (10 October 2005). "The future of the modern Commonwealth: Widening vs. deepening?". Commonwealth Policy Studies Unit. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (doc)เมื่อ 23 July 2011. สืบค้นเมื่อ 16 September 2006.
  16. "The Commonwealth: What's the point of it?". The Economist. 19 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
  17. "Nepal urged to join Commonwealth". The Himalayan Times. 19 January 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
  18. Howden, Daniel (26 November 2009). "The Big Question: What is the Commonwealth's role, and is it relevant to global politics?". The Independent. London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2022.
  19. Osike, Felix (24 November 2007). "Rwanda membership delayed". New Vision. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2013. สืบค้นเมื่อ 29 November 2009.