ข้ามไปเนื้อหา

วัน-ทู-โก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัน ทู โก แอร์ไลน์
IATA ICAO รหัสเรียก
OG OTG THAI EXPRESS
ก่อตั้ง2546
เริ่มดำเนินงาน3 ธันวาคม พ.ศ. 2546
เลิกดำเนินงานกรกฎาคม พ.ศ. 2553 (รวมกับโอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์)
ฐานการบินท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง
ขนาดฝูงบิน8
จุดหมาย7
บริษัทแม่โอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์
สำนักงานใหญ่ดอนเมือง, กรุงเทพ, ประเทศไทย
บุคลากรหลักอุดม ตันติประสงค์ชัย (ประธาน)
เว็บไซต์www.flyorientthai.com

บริษัทสายการบิน วัน ทู โก จำกัด (อังกฤษ: One Two Go Airlines Co. Ltd)[1] มักเรียกเป็น วัน-ทู-โก แอร์ไลน์ เป็นสายการบินราคาประหยัดที่มีฐานในดอนเมือง, กรุงเทพ, ประเทศไทย[2] ซึ่งมีฐานหลักในท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง กรุงเทพมหานคร[3] ถือครองและบริหารโดยโอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์ วัน-ทู-โกเลิกกิจการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยเปลี่ยนชื่อเป็นโอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์ ในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2561 โอเรียนท์ ไทย แอร์ไลน์หยุดบริการทั้งหมด[4][5]

เส้นทางที่เคยทำการบิน

[แก้]

ฝูงบิน

[แก้]
โบอิง 757 ของวัน-ทู-โกในพื้นที่จัดเก็บที่ท่าอากาศยานวิกตอร์วิลล์ (รหัสลงทะเบียน: HS-BTA)
เอ็มดี-82 ของวัน-ทู-โก (รหัสลงทะเบียน: HS-OMC)

ฝูงบินวัน-ทู-โกมีอากาศยานดังนี้:[6]

อุบัติการณ์

[แก้]
  • 15 ธันวาคม 2550 – วัน-ทู-โก เที่ยวบินที่ 8104 เส้นทางดอนเมือง-เชียงใหม่ เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-82 ขณะบินผ่านอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ เกิดผิดพลาดในการกำหนดหรือควบคุมเพดานบิน ทำให้มาอยู่ในระดับเพดานบินเดียวกันกับเครื่องบินโบอิง 737-400 ของนกแอร์ที่บินสวนทางมา (เส้นทางเชียงราย-ดอนเมือง) ซึ่งอาจจะทำให้ชนกันกลางอากาศได้ เหตุการณ์นี้ฝ่ายนักบินนกแอร์ได้ขับหลบหลีกไปได้ โดยรีบลดระดับเพดานบินลงในทันทีที่ระบบในห้องนักบินแจ้งเตือนว่ามีเครื่องบินลำอื่นพุ่งตรงเข้ามา[7][8]

อุบัติเหตุ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "STATUS OF THE INQUIRY INTO THE ACCIDENT OF ONE TWO GO AIRLINES FLIGHT OG 269." (Archive) Royal Thai Embassy of Singapore. Retrieved on 6 April 2013.
  2. "Contact Us เก็บถาวร 2010-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน." One-Two-GO Airlines. Retrieved on 4 March 2010.
  3. "Directory: World Airlines". Flight International. 2007-04-10. p. 59.
  4. "ปิดฉาก "วันทูโก"" [Concluded "One to Go"]. Positioning Magazine. 2008-08-05. สืบค้นเมื่อ 2020-05-21.
  5. "ศาลฝรั่งเศสไต่สวนคดีญาติเหยื่อ 'วันทูโก' ฟ้องอดีตประธานสายการบินฐาน 'ฆ่าคนตาย'" [French court investigates relative of 'One Two Go' victim suing former airline chairman 'kill man']. mgronline.com. 2019-06-24. สืบค้นเมื่อ 2020-05-21.
  6. "One-Two-Go Fleet". Ch-aviation.ch. สืบค้นเมื่อ 2012-05-16.
  7. "นกแอร์-วันทูโก บินเฉี่ยว! หวิดชนเละ-กลางเวหา". Krungthep Metro Travel (Thailand). 18 มกราคม 2550. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. "เผยเหตุระทึก นกแอร์-วันทูโกเกือบชนกลางอากาศ". รัฐสภาไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-16. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  9. "Scores killed in Thai plane crash". BBC News. 16 September 2007. สืบค้นเมื่อ 20 May 2010.
  10. [1][ลิงก์เสีย]
  11. "Crash airline has history of safety doubts". The Australian. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-19.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ One-Two-GO Airlines