ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิสุทธิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
Bpitk (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ
วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ
*'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้องตั้งใจรักษา ทำให้สามารถปฏิบัติ [[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br>[[ปาริสุทธิศีล]] 4 ใน[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]] ได้แก่
*'''ศีลวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ศีล]] คือ การรักษาศีลให้บริสุทธิ์และต้องตั้งใจรักษา ทำให้สามารถปฏิบัติ [[สมาธิ]]กับ[[วิปัสสนา]]ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br>[[ปาริสุทธิศีล]] 4 ใน[[คัมภีร์วิสุทธิมรรค]] ได้แก่
#''ปาฏิโมกขสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวมในพระ[[ปาฏิโมกข์]] เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดใน[[สิกขาบท]] คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ใน[[พระไตรปิฎก]]นั่นเอง ในส่วนของพระภิกษุ ได้แก่ พระปาติโมกข์ และข้อวัตรที่แสนจะเรียบร้อย ดังปรากฏใน[[พระวินัยปิฎก]], ในส่วนของ[[ฆราวาส]] ได้แก่ [[ศีล]] [[ศีล]] เป็นต้นและมารยาทต่างๆ เช่น พูดไพเราะอ่อนหวาน เป็นต้นนั่นเอง.
#''ปาฏิโมกขสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวมในพระ[[ปาฏิโมกข์]] เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดใน[[สิกขาบท]] คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ใน[[พระไตรปิฎก]]นั่นเอง ในส่วนของพระภิกษุ ได้แก่ พระปาติโมกข์ และข้อวัตรที่แสนจะเรียบร้อย ดังปรากฏใน[[พระวินัยปิฎก]], ในส่วนของ[[ฆราวาส]] ได้แก่ [[ศีลห้า]] [[ศีลแปด]] เป็นต้นและมารยาทต่างๆ เช่น พูดไพเราะอ่อนหวาน เป็นต้นนั่นเอง.
#''อินทรียสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวม[[อินทรีย์]] ระวังไม่ให้[[บาป]][[อกุศลธรรม]]เกิดขึ้นได้ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น ระวังไม่ให้โกรธ นี้ก็จัดเป็นขั้นศีล.
#''อินทรียสังวรศีล'' ศีลคือความสำรวม[[อินทรีย์]]6 ระวังไม่ให้[[บาป]][[อกุศลธรรม]]เกิดขึ้นได้ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น ระวังไม่ให้โกรธ นี้ก็จัดเป็นขั้นศีล.
#''อาชีวปาริสุทธิศีล'' ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ของพระได้แก่สิกขาบท ข้อ(ที่ท่านระบุไว้ใน[[คัมภีร์ปริวาร]]), ของฆราวาสก็ได้แก่อาชีพที่ไม่ผิดศีลผิดกรรมบถ ๑๐ เช่น ไม่ทำอาชีพเพชฌฆาตฆ่าคน เป็นต้น.
#''อาชีวปาริสุทธิศีล'' ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ของพระได้แก่สิกขาบท 6 ข้อ(ที่ท่านระบุไว้ใน[[คัมภีร์ปริวาร]]), ของฆราวาสก็ได้แก่อาชีพที่ไม่ผิดศีล เช่น ไม่ทำอาชีพเพชฌฆาตฆ่าคน เป็นต้น.
#''ปัจจัยสันนิสิตศีล'' ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอย[[ปัจจัยสี่]] ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วย[[ตัณหา]] คือ ไม่ใช่ว่าอยากกินก็เลยกิน อยากใช้ก็เลยใช้นั่นเอง
#''ปัจจัยสันนิสิตศีล'' ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอย[[ปัจจัย]] ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วย[[ตัณหา]] คือ ไม่ใช่ว่าอยากกินก็เลยกิน อยากใช้ก็เลยใช้นั่นเอง
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]] คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิ ให้ได้[[อุปจาระสมาธิ]]และ[[อัปปนาสมาธิ]] ได้[[ฌาน]] ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิด[[วิปัสสนา]]ขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
*'''จิตตวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[จิต]] คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิ ให้ได้[[อุปจาระสมาธิ]]และ[[อัปปนาสมาธิ]] ได้[[ฌาน]] ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิด[[วิปัสสนา]]ขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]] คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็น[[นามรูป]]ตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
*'''ทิฏฐิวิสุทธิ''' ความหมดจดแห่ง[[ทิฏฐิ]] คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็น[[นามรูป]]ตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
*อธิศีลสิกขา
*อธิศีลสิกขา
'''ศีลวิสุทธิ'''
'''ศีลวิสุทธิ'''
::.ปาฏิโมกขสังวรศีล
::1.ปาฏิโมกขสังวรศีล
::.อินทรียสังวรศีล
::2.อินทรียสังวรศีล
::.อาชีวปาริสุทธิศีล
::3.อาชีวปาริสุทธิศีล
::.ปัจจัยสันนิสิตศีล
::4.ปัจจัยสันนิสิตศีล
*อธิจิตตสิกขา
*อธิจิตตสิกขา
'''จิตตวิสุทธิ'''
'''จิตตวิสุทธิ'''
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
*อธิปัญญาสิกขา
*อธิปัญญาสิกขา
'''ทิฏฐิวิสุทธิ'''
'''ทิฏฐิวิสุทธิ'''
::.นามรูปปริจเฉทญาณ
::1.นามรูปปริจเฉทญาณ
'''กังขาวิตรณวิสุทธิ'''
'''กังขาวิตรณวิสุทธิ'''
::.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ
::2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ
'''มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ'''
'''มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ'''
::.สัมมสนญาณ
::3.สัมมสนญาณ
::.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่ยังเป็นวิปัสสนาญาณอย่างอ่อน (ตรุณอุทยัพพยญาณ)
::4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่ยังเป็นวิปัสสนาญาณอย่างอ่อน (ตรุณอุทยัพพยญาณ)
'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ'''
'''ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ'''
::.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่เจริญขึ้น (พลวอุทยัพพยญาณ)
::4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่เจริญขึ้น (พลวอุทยัพพยญาณ)
::.ภังคานุปัสสนาญาณ
::5.ภังคานุปัสสนาญาณ
::.ภยตูปัฏฐานญาณ
::6.ภยตูปัฏฐานญาณ
::.ทีนวานุปัสสนาญาณ
::7.ทีนวานุปัสสนาญาณ
::.นิพพิทานุปัสสนาญาณ
::8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ
::.มุจจิตุกัมยตาญาณ
::9.มุจจิตุกัมยตาญาณ
::๑๐.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
::10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
::๑๑.สังขารุเบกขาญาณ
::11.สังขารุเบกขาญาณ
::๑๒.สัจจานุโลมิกญาณ
::12.สัจจานุโลมิกญาณ
::๑๓.โคตรภูญาณ
::13.โคตรภูญาณ
'''ญาณทัสสนวิสุทธิ'''
'''ญาณทัสสนวิสุทธิ'''
::๑๔.มัคคญาณ
::14.มัคคญาณ
::๑๕.ผลญาณ
::15.ผลญาณ
::๑๖.ปัจจเวกขณญาณ
::16.ปัจจเวกขณญาณ


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:07, 1 มกราคม 2552

วิสุทธิ หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความหมดจด

วิสุทธิ 7 ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความบริสุทธิ์ที่สูงขึ้นไปตามลำดับ เป็นการทำให้บริสุทธิ์ ด้วยการฝึกฝนตนเองที่เรียกว่าไตรสิกขา ไปโดยลำดับ จนบรรลุจุดมุ่งหมายคือนิพพาน

วิสุทธิมี 7 ขั้น คือ

  1. ปาฏิโมกขสังวรศีล ศีลคือความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม ทำตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่งครัดในสิกขาบท คือ ศีลและมารยาทที่มีอยู่ในพระไตรปิฎกนั่นเอง ในส่วนของพระภิกษุ ได้แก่ พระปาติโมกข์ และข้อวัตรที่แสนจะเรียบร้อย ดังปรากฏในพระวินัยปิฎก, ในส่วนของฆราวาส ได้แก่ ศีลห้า ศีลแปด เป็นต้นและมารยาทต่างๆ เช่น พูดไพเราะอ่อนหวาน เป็นต้นนั่นเอง.
  2. อินทรียสังวรศีล ศีลคือความสำรวมอินทรีย์6 ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมเกิดขึ้นได้ เมื่อรับรู้อินทรีย์ทั้งหก คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น ระวังไม่ให้โกรธ นี้ก็จัดเป็นขั้นศีล.
  3. อาชีวปาริสุทธิศีล ศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะ เลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ของพระได้แก่สิกขาบท 6 ข้อ(ที่ท่านระบุไว้ในคัมภีร์ปริวาร), ของฆราวาสก็ได้แก่อาชีพที่ไม่ผิดศีล เช่น ไม่ทำอาชีพเพชฌฆาตฆ่าคน เป็นต้น.
  4. ปัจจัยสันนิสิตศีล ศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่ คือ การพิจารณาใช้สอยปัจจัย ให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้น ไม่บริโภคด้วยตัณหา คือ ไม่ใช่ว่าอยากกินก็เลยกิน อยากใช้ก็เลยใช้นั่นเอง
  • จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต คือ การฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิ ให้ได้อุปจาระสมาธิและอัปปนาสมาธิ ได้ฌาน ได้อภิญญาสมาบัติ อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญเพราะจะทำให้เกิดวิปัสสนาขึ้นได้ง่าย ยิ่งสมาธิดีเท่าใดยิ่งบรรลุได้ง่ายเท่านั้น.
  • ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ คือ ความรู้เข้าใจ มองเห็นนามรูปตามสภาวะที่เป็นจริง เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
  • กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้กำจัดความสงสัยได้ คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้แล้วจึงสิ้นสงสัย
  • มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
  • ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน (วิปัสสนาญาณ 9)
  • ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ คือ ความรู้ในอริยมรรค หรือมรรคญาณ ความเป็นอริยบุคคล ย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้ เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิ หรือไตรสิกขา หรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น

วิสุทธิ 7 กับ วิปัสสนาญาณ

วิสุทธิ 7 เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพาน ดังบรรยายในรถวินีตสูตร(พระสูตรหนึ่งในพระไตรปิฎก)เปรียบวิสุทธิ 7 กับรถเจ็ดผลัด ส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมาย สามารถเปรียบเทียบ ไตรสิกขา,วิสุทธิ 7,ญาณ 16 ,ปาริสุทธิศีล 4 และสมาธิ ได้ดังนี้

  • อธิศีลสิกขา

ศีลวิสุทธิ

1.ปาฏิโมกขสังวรศีล
2.อินทรียสังวรศีล
3.อาชีวปาริสุทธิศีล
4.ปัจจัยสันนิสิตศีล
  • อธิจิตตสิกขา

จิตตวิสุทธิ

-อุปจารสมาธิ
-อัปปนาสมาธิ ในฌานสมาบัติ
  • อธิปัญญาสิกขา

ทิฏฐิวิสุทธิ

1.นามรูปปริจเฉทญาณ

กังขาวิตรณวิสุทธิ

2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ

มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ

3.สัมมสนญาณ
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่ยังเป็นวิปัสสนาญาณอย่างอ่อน (ตรุณอุทยัพพยญาณ)

ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ

4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ที่เจริญขึ้น (พลวอุทยัพพยญาณ)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ
6.ภยตูปัฏฐานญาณ
7.ทีนวานุปัสสนาญาณ
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ
11.สังขารุเบกขาญาณ
12.สัจจานุโลมิกญาณ
13.โคตรภูญาณ

ญาณทัสสนวิสุทธิ

14.มัคคญาณ
15.ผลญาณ
16.ปัจจเวกขณญาณ

อ้างอิง

ดูเพิ่ม