วิปัสสนา
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน
ส่วนหนึ่งของ | |
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมาย | |
นิพพาน | |
พระรัตนตรัย | |
หลักปฏิบัติ | |
ศีล · สมาธิ · ปัญญา สมถะ · วิปัสสนา บทสวดมนต์ | |
คัมภีร์ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก | |
หลักธรรม | |
ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38 | |
นิกาย | |
เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน | |
สังคม | |
ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน | |
การจาริกแสวงบุญ | |
สังเวชนียสถาน · การแสวงบุญในพุทธภูมิ | |
ดูเพิ่มเติม | |
คำศัพท์ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ |
วิปัสสนา หมายถึง เห็นการเกิดการดับหรือความเห็นแจ้งในสังขารทั้งหลายว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่ใช่ตัวตน[1]
สมถะและวิปัสสนาถือเป็นธรรมที่ควรเจริญ (ตามทสุตตรสูตร)[2] และเป็นธรรมฝ่ายวิชชา (ตามพาลวรรค)[3]
วิปัสสนาภูมิ[แก้]
วิปัสสนาภูมิ คือ ธรรมทั้งหลายอันแยกประเภทเป็น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ สัจจะ และปฏิจจสมุปบาท
วิปัสสนาภูมิ หมายถึง ธรรมอันเป็นอารมณ์ของวิปัสสนา
วิปัสสนาญาณ[แก้]
ดูบทความหลักที่: ญาณ
วิปัสสนากรรมฐาน[แก้]
วิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง การปฏิบัติกรรมฐานตามแนวทางในมหาสติปัฏฐานสูตร คือ การเจริญสติอันเป็นไปใน กาย เวทนา จิต และธรรม