ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
|}
|}


ช่อง Scale potato เป็นช่องดีอย่าลืมซับนะ
== สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น ==
ปัจจุบัน ประเทศกัมพูชามีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 8 แห่ง ดังนี้<ref name="UNESCO-Cambodia"></ref>
* [[ปราสาทเกาะแกร์]]
* แหล่งกุเลน
* แหล่งพนมดา
* แหล่งอุดง
* เบ็งเมเลีย (บึงมาลา)
* ปราสาทพระขรรค์แห่งกำปงสวาย
* [[ปราสาทบันทายฉมาร์]]
* [[ปราสาทบันทายไพรนคร]]
<!--
{|class="wikitable sortable"
! style="width:15%;" scope="col"| สถานที่
! class="unsortable" scope="col" |ภาพ
! scope="col" | ที่ตั้ง
! scope="col" | [[มรดกโลก#ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นมรดกโลก|ประเภท]]
! scope="col"| พื้นที่ <br />ha (acre)
! scope="col"| ปี (พ.ศ./ค.ศ.)
! scope="col" class="unsortable" | หมายเหตุ
! scope="col" class="unsortable" | อ้างอิง
|-
! scope="row" | [[กลุ่มปราสาทสมโบร์ไพรกุก]]
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | [[ปราสาทเกาะแกร์]]
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | แหล่งกุเลน
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | แหล่งพนมดา
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | แหล่งอุดง
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | Beng Mealea
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | พระขันธ์แห่งกำปงสวาย
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | [[ปราสาทบันทายฉมาร์]]
| {{center| }}
|
|
|
|-
! scope="row" | [[ปราสาทบันทายไพรนคร]]
| {{center| }}
|
|
|
|}
-->


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:35, 2 สิงหาคม 2560

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศกัมพูชาทั้งสิ้น 3 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง

ที่ตั้งแหล่งมรดกโลกในประเทศกัมพูชา

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
ha (acre)
ปีขึ้นทะเบียน
พ.ศ. (ค.ศ.)
หมายเหตุ อ้างอิง
เมืองพระนคร (อังกอร์) Ruins of a large structure with five large towers at the top. จังหวัดเสียมราฐ,  กัมพูชา
13°26′N 103°50′E / 13.433°N 103.833°E / 13.433; 103.833 (Angkor)
วัฒนธรรม:
(i), (ii), (iii), (iv)
40,100 2535/1992 อังกอร์เป็นหนึ่งในแหล่งโบราณคดีที่สำคัญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อุทยานมีพื้นที่กว่า 400 ตารางกิโลเมตร ภายในประกอบด้วยพื้นที่ป่าและซากเมืองหลวงโบราณต่าง ๆ ของอาณาจักรเขมรโบราณาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึง 15 [2][3]
[4]
ปราสาทพระวิหาร Ruins of a stone building erected on a stone platform. The roof above the main entrance is decorated. จังหวัดพระวิหาร  กัมพูชา
14°23′18″N 104°41′2″E / 14.38833°N 104.68389°E / 14.38833; 104.68389 (Temple of Preah Vihear)
วัฒนธรรม:
(i)
154.7; พื้นที่กันชน 2,642.5 2551/2008 เป็นศาสนสถานที่สร้างอุทิศให้กับพระศิวะ ตัวปราสาทประกอบด้วยวิหารหลายแห่งที่เชื่อมโยงกันด้วยทางเท้าและบันไดที่มีแกนยาว 800 เมตร สร้างขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 11 อย่างไรก็ตามประวัติศาสตร์สามารถโยงไปได้ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 9 และโดดเด่นเป็นพิเศษในด้านสถาปัตยกรรมที่ปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ [5]
เขตปราสาทสมโบร์ไพรกุก แหล่งโบราณคดีแห่งอิศานปุระ จังหวัดกำปงธม  กัมพูชา
12°87′13″N 105°04′36″E / 13.45361°N 105.07667°E / 13.45361; 105.07667 (Sambor Prei Kuk) Coordinates: latitude minutes >= 60
{{#coordinates:}}: ละติจูดไม่ถูกต้อง
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (vi)
154.7; พื้นที่กันชน 2,642.5 2560/2017 แหล่งโบราณคดีแห่งนี้แปลได้ว่า "วัดในผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์" ในภาษาเขมร โดยได้รับการระบุว่าเป็นเมืองอิศานปุระซึ่งเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรเจนละ เจริญรุ่งเรืองในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 7 ครอบคลุมพื้นที่ 25 ตารางกิโลเมตรที่ภายในประกอบด้วยกำแพงเมืองและปราสาทหินรูปทรงเหลี่ยมหลายแห่งอันแตกต่างจากสิ่งก่อสร้างโบราณต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ [6]

ช่อง Scale potato เป็นช่องดีอย่าลืมซับนะ

อ้างอิง

  1. "World Heritage Properties in Cambodia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2017.
  2. "Angkor". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
  3. 16th session 1992, pp. 37–38, annex VI
  4. 28th session 2004, pp. 66–67
  5. "Temple of Preah Vihear". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
  6. "Temple Zone of Sambor Prei Kuk, Archaeological Site of Ancient Ishanapura". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 9 กรกฎาคม 2017.