มอละมไยน์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เมาะลำเลิง)
มอละมไยน์ มะละแหม่ง | |
---|---|
เมือง | |
จากบนและซ้าย: เจดีย์อู้ซีนา, เจดีย์ไจตะลาน, อารามป่าเอก, เจดีย์มหาเมียะมุนี, มนเทียรศรีศิวโลกนาถ, อาสวิหารครอบครัวศักดิ์สิทธิ์, มัสยิดฌมกุลชีอะฮ์, มหาวิทยาลัยมะละแหม่ง, เกาะค่องเซ บนแม่น้ำสาละวิน | |
พิกัด: 16°29′N 97°37′E / 16.483°N 97.617°E | |
ประเทศ | พม่า |
รัฐ | รัฐมอญ |
จังหวัด | มอละมไยน์ |
อำเภอ | มอละมไยน์ |
ความสูง | 4,590 ฟุต (1,400 เมตร) |
ประชากร | |
• ทั้งหมด | 325,927 คน |
• กลุ่มชาติพันธุ์ | มอญ, พม่า, พม่าเชื้อสายจีน, พม่าเชื้อสายอินเดีย, กะเหรี่ยง |
• ศาสนา | พุทธเถรวาท, คริสต์, อิสลาม, ฮินดู |
เขตเวลา | UTC+6:30 (เวลามาตรฐานพม่า) |
มอละมไยน์,[1] เมาะลำไย,[1] เมาะลำเลิง,[2] มะละแหม่ง[2] หรือ มอละมไยง์[2] (พม่า: မော်လမြိုင်, ออกเสียง: [mɔ̀ləmjàɪɴ]; มอญ: မတ်မလီု, ออกเสียง: [mo̤t.məlɜ̤m] โหมดแหมะเหลิ่ม; "ตาพ่อเสีย")[3] เป็นเมืองหลักของรัฐมอญและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของประเทศพม่า ตกอยู่ภายใต้การปกครองอังกฤษในช่วงการล่าอาณานิคม และมีสถานะเป็นศูนย์กลางการปกครองอาณานิคมอังกฤษในพม่าระหว่าง ค.ศ. 1826-1852[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาพม่า (เมียนมา) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561. หน้า 24.
- ↑ องค์ บรรจุน (9 กรกฎาคม 2561). "จากปรากฏการณ์คืนชื่อหมู่บ้านมลายูชายแดนใต้ ถึงขบวนการเรียกร้องชื่อสะพานสร้างใหม่ในรัฐมอญ". ศิลปวัฒนธรรม. (39:9), หน้า 38–39.
- ↑ ชัยวัฒน์ ปะสุนะ. (2565). มะละแหม่ง: เมืองท่าการค้าและศูนย์กลางการปกครองอาณานิคมของอังกฤษในพม่า ระหว่าง ค.ศ. 1826-1852. วารสารวิชาการโรงเรียนนายเรือด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์. 9(1), 39-54