ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน
ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน 臺灣桃園國際機場 Táiwān Táoyuán Gúojì Jīchǎng | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลสำคัญ | |||||||||||||||
การใช้งาน | สาธารณะ | ||||||||||||||
ผู้ดำเนินงาน | Civil Aeronautics Administration | ||||||||||||||
พื้นที่บริการ | ไทเป | ||||||||||||||
ที่ตั้ง | Dayuan Township, Taoyuan County, ไต้หวัน | ||||||||||||||
ฐานการบิน | |||||||||||||||
เหนือระดับน้ำทะเล | 119 ฟุต / 33 เมตร | ||||||||||||||
พิกัด | 25°4′35″N 121°13′26″E / 25.07639°N 121.22389°E | ||||||||||||||
เว็บไซต์ | Taoyuan Airport Website | ||||||||||||||
ทางวิ่ง | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
สถิติ (2020) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน (จีนตัวเต็ม: 台灣桃園國際機場 หรือ 臺灣桃園國際機場, ไต้หวันพินอิน: Táiwan Táoyuán Gúojì Jicháng, พินอิน: Táiwān Táoyuán Gúojì Jīcháng) เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก (จีนตัวเต็ม: 中正國際機場, ไต้หวันพินอิน: Jhongjhèng Gúojì Jicháng, พินอิน: Zhōngzhèng Gúojì Jīcháng) ตั้งอยู่ที่เมืองเถา-ยฺเหวียน ในประเทศไต้หวัน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐจีน และเป็นท่าอากาศยานหลักของไชน่าแอร์ไลน์ และอีวีเอแอร์ โดยอาคาร 1 รองรับผู้โดยสารได้ 15 ล้านคน อาคาร 2 รองรับผู้โดยสารได้ 17 ล้านคน รวมกันได้ 32 ล้านคนต่อปี
อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน
[แก้]อาคารผู้โดยสาร 1
[แก้]- การบินไทย
- โกเรียนแอร์
- คาเธย์แปซิฟิก
- เจ็ตสตาร์เอเชีย
- ไชน่าแอร์ไลน์
- เซบูแปซิฟิก
- ทรานส์เอเชียแอร์เวย์
- วีแอร์แอร์ไลน์
- ปาลูทรานส์แปซิฟิก
- เพรสซิเดนท์แอร์ไลน์
- ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์
- มาเลเซียแอร์ไลน์
- เวียดนามแอร์ไลน์
- อังกอร์แอร์เวย์
- แอร์มาเก๊า
- นกสกูตแอร์ไลน์
- ไทยไลอ้อนแอร์
อาคารผู้โดยสาร 2
[แก้]- คาเธย์แปซิฟิก
- เคแอลเอ็ม
- เจแปนแอร์ไลน์
- ไชน่าแอร์ไลน์
- นอร์ทเวสต์แอร์ไลน์
- แปซิฟิกแอร์ไลน์
- ฟาร์อีสเทิร์นแอร์ทรานสปอร์ต
- ยูไนเต็ดแอร์ไลน์
- สิงคโปร์แอร์ไลน์
- ออลนิปปอนแอร์เวย์
- อีวีเอแอร์
- เอเชียน่าแอร์ไลน์
สายการบินขนส่งสินค้า
[แก้]- ไชน่าแอร์ไลน์คาร์โก
- อีวีเอแอร์คารโก
- แอตลาสแอร์ (ให้บริการสำหรับเอมิเรตส์)
แผนพัฒนาสนามบินในอนาคต
[แก้]ปัจจุบันอาคารผู้โดยสารของท่าอากาศยานไต้หวันเถาหยวนรองรับรวมได้ 32 ล้านคน โดยในอนาคตจะมีแผนจะสร้างอาคาร 4 เป็นแบบอาคารขนาดเล็กที่สามารถรองรับได้ 5 ล้านคน ก่อนที่จะมีการก่อสร้างอาคารผุ้โดยสารอาคาร 3 โดยสามารถรองรับเพิ่มเติมได้ อีก 8 ล้านคน เมื่อโครงการเสร็จสิ้นจะสามารถรองรับได้มากถึง 45 ล้านคนในอนาคต และในปี พ.ศ. 2576 (ค.ศ. 2042) จะสามารถพัฒนาได้มากถึง 86 ล้านคนพร้อมกับการสร้างรันเวย์ที่ 3[2][3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "民航統計月報". caa.gov.tw. สืบค้นเมื่อ 1 February 2020.[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://thai.rti.org.tw/news/?recordId=33065[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://thai.rti.org.tw/news/?recordId=33126[ลิงก์เสีย]