ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Mecha workaround.svg|thumb|265px|วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ เป็น[[สหวิทยาการ]]อันประกอบด้วยองค์ความรู้หลากหลายสาขา]]
[[ไฟล์:Mecha workaround.svg|thumb|265px|วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ เป็น[[สหวิทยาการ]]อันประกอบด้วยองค์ความรู้หลากหลายสาขา]]


'''วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์''' ({{lang-en|Mechatronics Engineering}}) เป็น[[สหวิทยาการ]]เชิงประยุกต์ ที่นำวิชาพื้นฐานหลักว่าด้วย [[วิศวกรรมเครื่องกล]] [[วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์]] [[ทฤษฎีระบบควบคุม|วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ]] [[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] และ[[เทคโนโลยีสารสนเทศ]] มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการออกแบบและสร้างผลิตชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ ''Mechatronics'' มาจากการผสมคำว่า "Mechanics" และ "Electronics" โดยวิศวกรจากบริษัท Yakawa Electric ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]] ซึ่งเป็นการพัฒนาโดยการนำเทคโนโลยีในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (CAD/CAM/CAE) คอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่ง และระบบควบคุม ผสานเข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว เพื่อนำผลของการผสมผสานไปพัฒนาในงานระบบอุตสาหกรรมอย่างสมบูรณ์
'''วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์''' ({{lang-en|Mechatronics Engineering}}) เป็น[[สหวิทยาการ]]เชิงประยุกต์ ที่นำวิชาพื้นฐานหลักว่าด้วย [[วิศวกรรมเครื่องกล]] [[วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์]] [[ทฤษฎีระบบควบคุม|วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ]] [[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] และ[[เทคโนโลยีสารสนเทศ]]<ref>{{cite web|author=Mechanical and Mechatronics Engineering Department|title=What is Mechatronics Engineering?|url=http://www.mme.uwaterloo.ca/undergrad/mechatronics/prospective/prospective.html|work=Prospective Student Information|publisher=University of Waterloo|accessdate=30 May 2011}}</ref><ref name=CZU>{{cite web|author=Faculty of Mechatronics, Informatics and Interdisciplinary Studies TUL|title=Mechatronics (Bc., Ing., PhD.)|url=http://mechatronics.tul.cz|accessdate=15 April 2011}}</ref> มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการออกแบบและสร้างผลิตชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ ''Mechatronics'' มาจากการผสมคำว่า "Mechanics" และ "Electronics" โดยวิศวกรจากบริษัท Yakawa Electric ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]] ซึ่งเป็นการพัฒนาโดยการนำเทคโนโลยีในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (CAD/CAM/CAE) คอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่ง และระบบควบคุม ผสานเข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว เพื่อนำผลของการผสมผสานไปพัฒนาในงานระบบอุตสาหกรรมอย่างสมบูรณ์


[[ไฟล์:HONDA ASIMO.jpg|thumb|265px|หุ่นยนต์เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการประยุกต์ใช้เมคคาทรอนิกส์]]
[[ไฟล์:HONDA ASIMO.jpg|thumb|265px|หุ่นยนต์เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการประยุกต์ใช้เมคคาทรอนิกส์]]
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
ตัวอย่างผลงานที่สร้างจากสาขาวิชานี้ได้แก่ “[[ระบบอัจฉริยะ]]” (Intelligent Systems) ซึ่งมีกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีระบบเมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม [[หุ่นยนต์กู้ภัย]] และ[[อาคารอัจฉริยะ]] เป็นต้น
ตัวอย่างผลงานที่สร้างจากสาขาวิชานี้ได้แก่ “[[ระบบอัจฉริยะ]]” (Intelligent Systems) ซึ่งมีกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีระบบเมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม [[หุ่นยนต์กู้ภัย]] และ[[อาคารอัจฉริยะ]] เป็นต้น


== โครงสร้างหลักสูตร ==
สำหรับในประเทศไทย [[สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน]] ได้เปิดสอนในหลักสูตรวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ระดับปริญญาตรีเป็นแห่งแรก{{อ้างอิง}} ส่วนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เช่น [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์]] [[สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]][[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]] [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก]]

นักศึกษาแมคคาทรอนิกส์จะต้องผ่านหลักสูตรในหลายสาขา เช่น
*[[วิศวรรมเครื่องกล]] and [[วัสดุศาสตร์]]
*[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]
*[[วิศวกรรมคอมพิวเตอร์]] (วิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอล์ฟแวร์)
*[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]]
*วิศวกรรมระบบและควบคุม
*[[วิศวกรรมอ็อพติก]]

== การประยุกต์ใช้งาน ==
* [[Machine vision]]
* [[ระบบอัตโนมัติ]] and [[หุ่นยนต์]]
* [[servomechanism|Servo-mechanics]]
* [[ตัวรับรู้]] และ [[ระบบควบคุม]]
* [[วิศวกรรมยานพาหนะ]], อุปกรณ์ยานพาหนะในการออกแบบระบบย่อยเช่น [[ระบบเบรกป้องกันล้อล็อก]]
* การควบคุมเครื่องจักรด้วยคอมพิวเตอร์ เช่นเครื่องจักรที่ขับเคลื่อนด้วยคอมพิวเตอร์เหมือน [[Milling (machining)|computer numerical control (CNC), milling machines]]
* ระบบชำนาญการ
* สินค้าอุตสาหกรรม
* เครื่องอุปโภคบริโภค
* ระบบแมคคาทรอนิกส์
* แมคคาทรอนิกส์ทางการแพทย์, ระบบสร้างภาพทางการแพทย์
* ระบบพลศาสตร์โครงสร้าง
* ระบบยานพาหนะและการขนส่ง
* แมคคาทรอนิกส์เป็นภาษาใหม่ของยานพาหนะ
* ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยและการการผลิตแบบบูรณาการ
* [[คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ]]
* ระบบการผลิตและวิศวกรรม
* การบรรจุหีบห่อ
* Microcontrollers/PLCs
* [[Mobile apps]]
* วิศวกรรมเครื่องกลและไฟฟ้า

== หลักสูตรในประเทศไทย ==

สำหรับในประเทศไทย [[สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน]] ได้เปิดสอนในหลักสูตรวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ระดับปริญญาตรีเป็นแห่งแรก{{อ้างอิง}} ส่วนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ก็เปิดสอนเช่นกัน เช่น [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์]] [[สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]] [[สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ]][[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]] [[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น]] [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก]]



== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 37: บรรทัด 73:
{{โครงวิศวะ}}
{{โครงวิศวะ}}


{{วิศวกรรม}}
{{เทคโนโลยี}}
{{เทคโนโลยี}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:24, 1 เมษายน 2559

วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ เป็นสหวิทยาการอันประกอบด้วยองค์ความรู้หลากหลายสาขา

วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (อังกฤษ: Mechatronics Engineering) เป็นสหวิทยาการเชิงประยุกต์ ที่นำวิชาพื้นฐานหลักว่าด้วย วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ[1][2] มาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อการออกแบบและสร้างผลิตชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ Mechatronics มาจากการผสมคำว่า "Mechanics" และ "Electronics" โดยวิศวกรจากบริษัท Yakawa Electric ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นการพัฒนาโดยการนำเทคโนโลยีในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (CAD/CAM/CAE) คอมพิวเตอร์โปรแกรมมิ่ง และระบบควบคุม ผสานเข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว เพื่อนำผลของการผสมผสานไปพัฒนาในงานระบบอุตสาหกรรมอย่างสมบูรณ์

หุ่นยนต์เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการประยุกต์ใช้เมคคาทรอนิกส์

ตัวอย่างผลงานที่สร้างจากสาขาวิชานี้ได้แก่ “ระบบอัจฉริยะ” (Intelligent Systems) ซึ่งมีกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีระบบเมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น

โครงสร้างหลักสูตร

นักศึกษาแมคคาทรอนิกส์จะต้องผ่านหลักสูตรในหลายสาขา เช่น

การประยุกต์ใช้งาน

หลักสูตรในประเทศไทย

สำหรับในประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ได้เปิดสอนในหลักสูตรวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ระดับปริญญาตรีเป็นแห่งแรก[ต้องการอ้างอิง] ส่วนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ก็เปิดสอนเช่นกัน เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก


ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Mechanical and Mechatronics Engineering Department. "What is Mechatronics Engineering?". Prospective Student Information. University of Waterloo. สืบค้นเมื่อ 30 May 2011.
  2. Faculty of Mechatronics, Informatics and Interdisciplinary Studies TUL. "Mechatronics (Bc., Ing., PhD.)". สืบค้นเมื่อ 15 April 2011.