ผู้ใช้:Zambo/Adm-court-jurisd

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

The Administrative Courts of the Kingdom of Thailand are administrative courts of Thailand established and having jurisditciosn and authorities in accordance with the Act on Establishment of Adminsitrative Courts and Administrative Court Procedure, BE 2542 (1999) as signed by Bhumibol Adulyadej on 5 October 1999, published in the Government Gazette volume 116, part 94 A, page 1, dated 10 October of the same year and coming into force on the following day.[1]

Jurisdiction of the Supreme Administrative Court[แก้]

The Act on Establishment of Adminsitrative Courts and Administrative Court Procedure, BE 2542 (1999) prescribes the Supreme Administrative Court be located within Bangkok Metropolitan Administration or its vacinity.[2]

There issued a Notification of the President of the Supreme Administrative Court Re: Location and Open Date of the Supreme Administrative Court dated 23 February 2001, published in the Government Gazette part 13 A dated 28 February of the same year, determining the Supreme Administrative Court be located at the Empire Tower Building No. 195, Thanon Sathon Tai, Khwaeng Yan Nawa, Khet Sathon, Bangkok and open as of 9 March of such year.[1]

And there later issued a Notification of the President of the Supreme Administrative Court Re: Relocation of the Supreme Administrative Court dated 14 June 2008, published in the Government Gazette volume 125 part 78 A dated 12 June of the same year, relocating the Supreme Administrative Court to No. 120, Mu 3, Thanon Chaeng Watthana, Khwaeng Thung Song Hong, Khet Lak Si, Bangkok which opens as of 14 June of such year until the present.[1]

The Supreme Administrative Court has the jurisdiction throughout the country for the following cases:[3]

  1. คดีพิพาทเกี่ยวกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทตามที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดประกาศกำหนด
  2. คดีพิพาทเกี่ยวกับความชอบด้วยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือกฎที่ออกโดยคณะรัฐมนตรีหรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
  3. คดีที่มีกฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจศาลปกครองสูงสุด
  4. คดีที่อุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครองชั้นต้น

เขตอำนาจของศาลปกครองชั้นต้น[แก้]

ศาลปกครองกลาง[แก้]

ศาลปกครองกลางนั้น พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 กำหนดให้ที่ตั้งในกรุงเทพมหานครหรือในจังหวัดใกล้เคียง[4]

ซึ่งเดิมมีประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง สถานที่ตั้งและวันเปิดทำการของศาลปกครองกลาง ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ 13 ก วันที่ 28 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกันนั้น กำหนดให้ศาลปกครองกลางมีสถานที่ตั้ง ณ อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ เลขที่ 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร โดยให้เปิดทำการตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2544 นั้นเป็นต้นไป[1]

ต่อมามีประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง เปลี่ยนแปลงสถานที่ตั้งของศาลปกครองกลาง ลงวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 78 ก วันที่ 12 มิถุนายน ปีเดียวกันนั้น ประกาศเปลี่ยนแปลงที่ตั้งศาลปกครองกลางไปยัง เลขที่ 120 หมู่ที่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยให้เปิดทำการตั้งแต่วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2551 นั้นเป็นต้นไปจนปัจจุบัน[1]

ศาลปกครองมีเขตอำนาจตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดราชบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร[4] นอกจากนี้ ในระหว่างที่ศาลปกครองในภูมิภาคยังมิได้มีเขตอำนาจในท้องที่ใด ศาลปกครองกลางจะมีเขตอำนาจในท้องที่นั้นด้วย[5] อนึ่ง บรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตอำนาจศาลปกครองกลางดังกล่าวข้างต้น จะยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางก็ได้ โดยจะอยู่ในดุลพินิจของศาลปกครองกลางว่าจะรับหรือไม่รับพิจารณาพิพากษาคดีที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นก็ได้ เว้นแต่เป็นคดีที่โอนมาตามหลักเกณฑ์ของการพิจารณาคดีปกครอง[6]

Regional Administrative Courts[แก้]

The transitory provisions of the Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure Act, BE 2542 (1999) prescribe the Administrative Courts of First Instance be established in the regions of the country having the jurisdictions as provided therein.[7] Moreover, there were later issued the Notifications of the President of the Supreme Administrative Court altering some of the said jurisdictions as follows:

No. Court Location Jurisdiction
███ Northern Region
1. Chiang Mai Administrative Court Chiang Mai Over the provinces of Chiang Rai, Chiang Mai, Mae Hong Son, Lampang and Lamphun
ต่อมามีประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองเชียงใหม่มีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2544 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม ปีนั้น กำหนดให้มีเขตอำนาจเพิ่มเติมตลอดท้องที่จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ และจังหวัดอุตรดิตถ์
2. ศาลปกครองแพร่ จังหวัดแพร่ ตลอดท้องที่จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ และจังหวัดอุตรดิตถ์
แต่ยังไม่มีการจัดตั้งขึ้นจริง โดยท้องที่ดังกล่าวทั้งหมดไปขึ้นต่อเขตอำนาจของศาลปกครองนครราชสีมา ตามประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองเชียงใหม่มีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2544 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม ปีนั้น
███ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1. ศาลปกครองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ตลอดท้องที่จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดมหาสารคาม
ต่อมามีประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองนครราชสีมาและศาลปกครองขอนแก่นมีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน ปีนั้น กำหนดให้มีเขตอำนาจเพิ่มเติมตลอดท้องที่จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดเลย จังหวัดสกลนคร จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี
2. ศาลปกครองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ตลอดท้องที่จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดนครราชสีมา
ต่อมามีประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองนครราชสีมาและศาลปกครองขอนแก่นมีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน ปีนั้น กำหนดให้มีเขตอำนาจเพิ่มเติมตลอดท้องที่จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอำนาจเจริญ
3. ศาลปกครองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตลอดท้องที่จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์
4 ศาลปกครองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ตลอดท้องที่จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดสกลนคร
แต่ยังไม่มีการจัดตั้งขึ้นจริง โดยท้องที่ดังกล่าวทั้งหมดไปขึ้นต่อเขตอำนาจของศาลปกครองนครราชสีมา ตามประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองนครราชสีมาและศาลปกครองขอนแก่นมีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน ปีนั้น
5. ศาลปกครองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ตลอดท้องที่จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี
แต่ยังไม่มีการจัดตั้งขึ้นจริง โดยท้องที่ดังกล่าวทั้งหมดไปขึ้นต่อเขตอำนาจของศาลปกครองนครราชสีมา ตามประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองนครราชสีมาและศาลปกครองขอนแก่นมีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน ปีนั้น
6 ศาลปกครองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ตลอดท้องที่จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอำนาจเจริญ
แต่ยังไม่มีการจัดตั้งขึ้นจริง โดยท้องที่ดังกล่าวทั้งหมดไปขึ้นต่อเขตอำนาจของศาลปกครองนครราชสีมา ตามประกาศประธานศาลปกครองสูงสุด เรื่อง ให้ศาลปกครองนครราชสีมาและศาลปกครองขอนแก่นมีเขตอำนาจเพิ่มเติมในจังหวัดใกล้เคียง ลงวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2545 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน ปีนั้น
███ ภาคกลาง
1. ศาลปกครองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ตลอดท้องที่จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดตาก จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดสุโขทัย
2. ศาลปกครองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตลอดท้องที่จังหวัดนครนายก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง
3. ศาลปกครองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ตลอดท้องที่จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี
███ ภาคตะวันออก
1. ศาลปกครองระยอง จังหวัดระยอง ตลอดท้องที่จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดสระแก้ว
███ ภาคตะวันตก
- - - - (ขึ้นต่อศาลในภาคกลาง)
███ ภาคใต้
1. ศาลปกครองชุมพร จังหวัดชุมพร ตลอดท้องที่จังหวัดชุมพร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดระนอง
2. ศาลปกครองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ตลอดท้องที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
3. ศาลปกครองยะลา จังหวัดยะลา ตลอดท้องที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา
4. ศาลปกครองสงขลา จังหวัดสงขลา ตลอดท้องที่จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล

เชิงอรรถ[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา; 2552, 8 มิถุนายน : ออนไลน์.
  2. The Act on Establishment of Adminsitrative Courts and Administrative Court Procedure, BE 2542 (1999); section 8.
  3. The Act on Establishment of Adminsitrative Courts and Administrative Court Procedure, BE 2542 (1999); section 11.
  4. 4.0 4.1 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542, มาตรา 8, วรรคสอง. (สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา; 2552, 8 มิถุนายน : ออนไลน์).
  5. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542, มาตรา 8, วรรคสาม. (สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา; 2552, 8 มิถุนายน : ออนไลน์).
  6. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542, มาตรา 8, วรรคสี่. (สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา; 2552, 8 มิถุนายน : ออนไลน์).
  7. The Act on Establishment of Administrative Courts and Administrative Court Procedure Act, BE 2542 (1999); section 94.

อ้างอิง[แก้]

  • ราชกิจจานุเบกษา.
    • (2476, 9 ธันวาคม). พระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา พุทธศักราช 2476. (เล่ม 50). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <คลิก>. (เข้าถึงเมื่อ: 31 กรกฎาคม 2552).
    • (2492, 15 มีนาคม). พระราชบัญญัติเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. 2492. (เล่ม 66, ตอนที่ 15). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <คลิก>. (เข้าถึงเมื่อ: 31 กรกฎาคม 2552).
    • (2543, 30 ตุลาคม). ประกาศพระบรมราชโองการ แต่งตั้งประธานศาลปกครองสูงสุด ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2543. (เล่ม 117, ตอนพิเศษ 109 ง). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <คลิก>. (เข้าถึงเมื่อ: 31 กรกฎาคม 2552).
  • สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2552, 8 มิถุนายน). พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปครอง พ.ศ. 2542. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <คลิก>. (เข้าถึงเมื่อ: 31 กรกฎาคม 2552).