โกปาอาเมริกา 2019
คอนเมบอล โกปาอาเมริกา บราซิล 2019 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | บราซิล |
วันที่ | 14 มิถุนายน – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 2019 |
ทีม | 12 (จาก 2 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 6 (ใน 5 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | บราซิล (สมัยที่ 9) |
รองชนะเลิศ | เปรู |
อันดับที่ 3 | อาร์เจนตินา |
อันดับที่ 4 | ชิลี |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 26 |
จำนวนประตู | 60 (2.31 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 797,277 (30,665 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | แอแวร์ตง ปาโอโล เกร์เรโร (คนละ 3 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ดานีแยล อัลวิส |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | อาลีซง |
โกปาอาเมริกา 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโกปาอาเมริกา ครั้งที่ 49 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายระดับนานาชาติในทวีปอเมริกาใต้ จัดการแข่งขันขึ้นโดยคอนเมบอลที่ประเทศบราซิล โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึง 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2019
โดยทีมชาติชิลีจะแข่งในฐานะแชมป์เก่า หลังจากคว้าแชมป์ 2 ปี ติดต่อกันในปี 2015 และ 2016 (เซนเตนาริโอ) ซึ่งในปีนี้พวกเขาจบการแข่งขันลงในอันดับที่ 4 หลังจากพ่ายแพ้ต่อ อาร์เจนตินา ในนัดชิงที่สาม 2–1 ขณะที่ทีมบราซิล ชนะเลิศการแข่งขันในปีนี้เป็นสมัยที่ 9 ได้สำเร็จหลังจากเอาชนะ เปรู ได้ในรอบชิงชนะเลิศ 3–1 ที่สนามกีฬามารากานัง
โกปาอาเมริกา 2019 จะเป็นครั้งสุดท้ายที่จะแข่งขันในปีคี่ ก่อนที่จะเริ่มแข่งขันในปีคู่จากกำหนดเดิมในปี ค.ศ. 2020 ซึ่งภายหลังการแข่งขันในปีดังกล่าว ได้ถูกเลื่อนออกไปแข่งในปี ค.ศ. 2021 หลังจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า ทำให้การเริ่มการแข่งขันในปีคู่ จะเกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2024 ซึ่งจะจัดในห้วงเวลาที่ใกล้เคียงกับ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป[1][2]
การคัดเลือกเจ้าภาพ
[แก้]ในการแข่งขันโกปาอาเมริกานั้นสมาคมฟุตบอลอเมริกาใต้จะคัดเลือกเจ้าภาพจากการเรียงตัวอักษรและทำให้โกปาอาเมริกา 2019 นั้นชิลีจะได้เป็นเจ้าภาพ และ บราซิลจะได้เป็นเจ้าภาพในปี 2015 แต่เนื่องจากประเทศบราซิลนั้นได้รับการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2013 ฟุตบอลโลก 2014 และ โอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ซี่งบราซิลจึงไม่ประสงค์ที่ที่จะเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันโกปาอาเมริกา 2015 อีก ซึ่งคอนเมบอลได้อนุมัติให้สลับการเป็นเจ้าภาพเมื่อปี ค.ศ. 2012[3][4]
ทีม
[แก้]นอกเหนือจากสิบชาติที่อยู่ในสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) ซึ่งได้แข่งขันอย่างแน่นอนอยู่แล้วนั้น คอนเมบอล เริ่มวางแผนที่จะจัดการแข่งขัน 16 ทีมโดยเชิญหกทีมภายนอกมาแข่งขัน. ในวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2018, คอนเมบอลได้ประกาศว่าจะเชิญ 3 ทีมจากสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (คอนคาแคฟ) และ 3 ทีมจาก สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) มาเข้าร่วมแข่งขันในครั้งนี้ [5][6] ในวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 2018, มีการประกาศว่า กาตาร์ ซึ่งเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 ได้ยอมรับคำเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขัน,[7] ในวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 คอนเมบอล ประกาศว่าจะมีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งสิ้น 12 ทีม เท่าเดิมกับจำนวนทีมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993 เป็นต้นมา (หากไม่นับรวมการแข่งขันที่ฉลองครบ 100 ปี ในปี 2016) โดยอีกหนึ่งชาติที่เข้าร่วมคือ ญี่ปุ่น จากเอเอฟซี (ทวีปเอเชีย) [8]
กาตาร์จะกลายเป็นประเทศแรกในกลุ่มประเทศอาหรับ ที่ได้เข้าร่วมการแข่งขันโกปาอาเมริกา ขณะที่ญี่ปุ่นจะปรากฏเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งที่สองของพวกเขา โดยครั้งแรกได้แข่งขันในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งได้ตกรอบในรอบแบ่งกลุ่ม, การแข่งขันในครั้งนี้จะเป็นครั้งแรกที่ไม่มีทีมจาก คอนคาแคฟ เข้าแข่งขันนับตั้งแต่มีการเชิญทีมนอกทวีปมาร่วมแข่งขันในปี ค.ศ. 1993 โดยเม็กซิโกซึ่งได้ลงแข่งขันครบทั้ง 10 ครั้งตั้งแต่ปีดังกล่าว ก็จะไม่ได้ร่วมเล่นในโกปาอาเมริกาครั้งนี้ด้วย
สนามการแข่งขัน
[แก้]ในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 2018 รองประธานสมาพันธ์ฟุตบอลบราซิล เฟร์นังดู ซาร์เนย์ ได้ประกาศห้าเมืองที่จะเป็นเจ้าภาพการแข่งขันคือ ซัลวาดอร์, โปร์ตูอาเลกรี, เซาเปาลู, เบโลโอรีซอนชี และรีโอเดจาเนโร การประกาศรายชื่อสนามแข่งขันเกิดขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018.[9] โดยนักเปิดสนามจะแข่งขันที่ เอสตาจีอูดูโมรุงบี ใน เซาเปาลู, รอบรองชนะเลิศจะแข่งขันที่สนาม เอสตาจีอูดูเกรมีอู ใน โปร์ตูอาเลกรี และ เอสตาจีอูมีเนย์เรา ใน เบโลโอรีซอนชี, โดยนัดชิงชนะเลิศจะแข่งขันที่สนาม เอสจาจีอูดูมารากานัง ใน ริโอเดจาเนโร.[10]ในวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 คอนเมบอลได้ประกาศว่าการแข่งขันจะใช้สนามอาเรนาโกริงชังส์ แทนที่ของสนาม อลิอันซ์ปราดคี ที่ได้กำหนดไว้แต่เดิม ซึ่งตั้งอยู่ในเซาเปาลู เช่นกัน[11]
ริโอเดจาเนโร | เซาเปาลู | |||
---|---|---|---|---|
เอสตาจีอูดูมารากานัง | เอสตาจีอูดูโมรุงบี | อาเรนาโกริงชังส์ | ||
ความจุ: 74,738 | ความจุ: 67,428 | ความจุ: 49,205 | ||
เบโลโอรีซอนชี | โปร์ตูอาเลกรี | ซัลวาดอร์ | ||
มีเนย์เรา | เอสตาจีอูดูเกรมีอู | อาเรนาฟงชีนอวา | ||
ความจุ: 58,170 | ความจุ: 55,662 | ความจุ: 51,900 | ||
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 2019 ที่ Cidade das Artes ในริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซิล[12][13] โดยโถจับสลากมีทั้งหมด 4 โดยจับหนึ่งทีมในแต่ละโถมารวมกันเพื่อจะได้ 4 ทีมที่จะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
ซึ่งการประชุมสภา คอนเมบอล เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 นั้น มีการตัดสินใจว่าจะใช้อันดับโลกฟีฟ่า เป็นตัวในการแบ่งโถโดยมติครั้งนี้จะใช้ต่อไปในครั้งต่อ ๆ ไปของโกปาอาเมริกา[14]
ซึ่งในโกปาอาเมริกา 2019 นั้นจะใช้อันดับโลกฟีฟ่าครั้งล่าสุดในขณะวันที่จับ ณ วันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2018 โดยอันดับฟีฟ่าจะเว้นวรรคอยู่หลังชื่อทีมดังนี้[15]โดยโถแบ่งออกเป็น 4 โถ โถที่หนึ่งนั้นมี ทีมชาติบราซิล (ได้รับตำแหน่งสูงสุดในโถ 1 โดยอัตโนมัติอยู่แล้ว) และ อีก 2 ทีมที่อันดับโลกดีที่สุด และอีก 3 ทีมที่ดีที่สุดรองลงมาจะอยู่ในโถ 2, 3, 4 ค่อไป โดยทีมที่อยู่ในโถที่ 1 จะถูกจับสลากมาอยู่ในกลุ่มเดียวกับทีมในโถ่ อื่นๆ ทั้ง 3 รวมเป็น 4 ทีม, แต่ กาตาร์ และ ญี่ปุ่น สองทีมที่ได้รับเชิญมานั้นจะไม่สามารถอยู่กลุ่มเดียวกันได้ [16]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
บราซิล (3) (เจ้าภาพ) |
เวเนซุเอลา (31) |
ผู้ตัดสิน
[แก้]รายชื่อผู้ตัดสินรวม 23 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินอีก 23 คน ได้รับการประกาศเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 2019[17][18]
สมาคม | ผู้ตัดสิน | ผู้ช่วยผู้ตัดสิน |
---|---|---|
อาร์เจนตินา | เนสตอร์ ปิตานา เฟร์นันโด ราปาลินิ ปาตริซิโอ ลุสโต |
เอร์นัน ไมดานา ฆวน ปาโบล เบลาติ เอเซกิเอล ไบรลอบส์กิ |
โบลิเวีย | เกริ บาร์กัส | โฆเซ อันเตโล เอดวาร์ ซาอาเบดรา |
บราซิล | วิลตง ซังไปยู ราฟาแอล เกลาส์ อังเดร์ซง ดารงกู |
โรดรีกู โกเรอา มาร์เซลู วัง กาซี แกลเบร์ ลูซียู ฌิล |
ชิลี | โรเบร์โต โตบาร์ ฆูลิโอ บัสกุญญัน ปิเอโร มาซา |
กริสเตียน ชิเอมัน เกลาดิโอ ริโอส |
โคลอมเบีย | วิลมาร์ โรลดัน อันเดรส โรฮัส นิโกลัส กาโย |
อาเลกซันเดร์ กุซมัน วิลมาร์ นาบาร์โร ยอน อาเลกซันเดร์ เลออน |
เอกวาดอร์ | โรดิ ซัมบราโน การ์โลส ออร์เบ |
กริสเตียน เลสกาโน ไบรอน โรเมโร |
ปารากวัย | มาริโอ ดิอัซ เด บิบาร์ อาร์นัลโด ซามานิเอโก |
เอดัวร์โด การ์โดโซ ดาริโอ กาโอนา |
เปรู | ดิเอโก อาโร บิกตอร์ การ์ริโย |
โยนิ โบซิโอ บิกตอร์ ราเอซ |
อุรุกวัย | เอสเตบัน โอสโตฆิช เลโอดัน กอนซาเลซ |
นิโกลัส ตารัน ริชาร์ด ตรินิดัด |
เวเนซุเอลา | อาเลกซิส เอร์เรรา เฮซุส บาเลนซูเอลา |
การ์โลส โลเปซ ลุยส์ มูริโย |
ผู้เล่น
[แก้]โดยแต่ล่ะทีมจะมีผู้เล่น 23 คน โดยทุกทีมจะต้องส่งรายชื่อ 3 คนในตำแหน่งผู้รักษาประตู.[19]
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]กำหนดการการแข่งขันประกาศเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 2018 [14] ผู้ชนะและรองชนะเลิศของแต่ละกลุ่มและอันดับสามทีมที่ดีที่สุด 2 ทีมจากทุกกล่มจะเข้าสู่รอบแพ้คัดออก รวมทั้งสิ้น 8 ทีม
เวลาทั้งหมดที่ระบุข้างล่างนี้เป็นเวลาท้องถิ่น, (UTC−3).[20]
กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]การจัดลำดับทีมในตารางคะแนนจะมีดังนี้:[19]
- คะแนนในทุกเกมที่แข่งขัน (สามแต้ม หากชนะ, หนึ่งแต้มหากเสมอ, และไม่ได้หากแพ้);
- ประตูได้เสียในทุกเกมที่แข่งขัน;
- จำนวนประตูได้ในทุกเกมที่แข่งขัน;
- คะแนนที่ได้จากการแข่งขันที่เล่นระหว่างทีมที่มีลำดับเท่ากัน;
- ประตูได้เสียที่ได้จากการแข่งขันที่เล่นระหว่างทีมที่มีลำดับเท่ากัน;
- ประตูได้จากการแข่งขันที่เล่นระหว่างทีมที่มีลำดับเท่ากัน;
- คะแนนความประพฤติในทุกเกมที่แข่งขัน (สามารถนำการหักเงินไปใช้กับผู้เล่นได้เพียงครั้งเดียวในนัดเดียว):
- ใบเหลือง: −1 คะแนน;
- ใบแดงจากการโดนใบเหลืองที่สอง: −3 คะแนน;
- ใบแดงโดยตรง: −4 คะแนน;
- ใบแดงโดยตรงและก่อนหน้านั้นได้ใบเหลืองมาแล้ว: −5 คะแนน;
- จับสลาก
กลุ่มเอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล (H) | 3 | 2 | 1 | 0 | 8 | 0 | +8 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | เวเนซุเอลา | 3 | 1 | 2 | 0 | 3 | 1 | +2 | 5 | |
3 | เปรู | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 6 | −3 | 4 | |
4 | โบลิเวีย | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 9 | −7 | 0 |
โบลิเวีย | 1–3 | เวเนซุเอลา |
---|---|---|
ฆุสติเนียโน 82' | มาชิส 1', 54' มาร์ติเนซ 86' |
กลุ่มบี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โคลอมเบีย | 3 | 3 | 0 | 0 | 4 | 0 | +4 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | อาร์เจนตินา | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4 | |
3 | ปารากวัย | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | |
4 | กาตาร์ | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 |
อาร์เจนตินา | 0–2 | โคลอมเบีย |
---|---|---|
มาร์ติเนซ 71' เด. ซาปาตา 86' |
โคลอมเบีย | 1–0 | กาตาร์ |
---|---|---|
เด. ซาปาตา 86' |
กาตาร์ | 0–2 | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
มาร์ติเนซ 4' อาเกวโร 82' |
กลุ่มซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อุรุกวัย | 3 | 2 | 1 | 0 | 7 | 2 | +5 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ชิลี | 3 | 2 | 0 | 1 | 6 | 2 | +4 | 6 | |
3 | ญี่ปุ่น | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 7 | −4 | 2 | |
4 | เอกวาดอร์ | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 7 | −5 | 1 |
เอกวาดอร์ | 1–2 | ชิลี |
---|---|---|
เอ. บาเลนเซีย 26' (ลูกโทษ) | ฟูเอนซาลิดา 8' ซันเชซ 51' |
ตารางคะแนนอันดับที่สาม
[แก้]อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | A | เปรู | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 6 | −3 | 4 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | B | ปารากวัย | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 4 | −1 | 2 | |
3 | C | ญี่ปุ่น | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 7 | −4 | 2 |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]ในรอบแพ้คัดออก, จะแข่งขันกันในเวลาปกติ 90 นาที
- ในรอบก่อนรองชนะเลิศ, หากเสมอกัน จะไม่มีการต่อเวลาพิเศษ, จะตัดสินด้วยการด้วยการดวลลูกโทษ เพื่อหาผู้ชนะทันที
- ในรอบรองชนะเลิศ,นัดชิงอันดับที่สาม, นัดชิงชนะเลิศ, หากเสมอกันจะมีการต่อเวลาพิเสษ 30 นาที (โดยแบ่งเป็นครึ่งละ 15 นาที) โดยสามารถเปลี่ยนตัวผู้เล่นคนที่สี่ได้ แต่หากยังเสมอกันอยู่จะใช้การดวลลูกโทษตัดสินเพื่อหาผู้ชนะในที่สุด
สายการแข่งขัน
[แก้]รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
27 มิถุนายน – โปร์ตูอาเลกรี | ||||||||||
บราซิล (ลูกโทษ) | 0 (4) | |||||||||
2 กรกฎาคม – เบโลโอรีซอนชี | ||||||||||
ปารากวัย | 0 (3) | |||||||||
บราซิล | 2 | |||||||||
28 มิถุนายน – ริโอเดจาเนโร | ||||||||||
อาร์เจนตินา | 0 | |||||||||
เวเนซุเอลา | 0 | |||||||||
7 กรกฎาคม – ริโอเดจาเนโร | ||||||||||
อาร์เจนตินา | 2 | |||||||||
บราซิล | 3 | |||||||||
28 มิถุนายน – เซาเปาลู (โกริงชังส์) | ||||||||||
เปรู | 1 | |||||||||
โคลอมเบีย | 0 (4) | |||||||||
3 กรกฎาคม – โปร์ตูอาเลกรี | ||||||||||
ชิลี (ลูกโทษ) | 0 (5) | |||||||||
ชิลี | 0 | |||||||||
29 มิถุนายน – ซัลวาดอร์ | ||||||||||
เปรู | 3 | นัดชิงอันดับที่สาม | ||||||||
อุรุกวัย | 0 (4) | |||||||||
6 กรกฎาคม – เซาเปาลู (โกริงชังส์) | ||||||||||
เปรู (ลูกโทษ) | 0 (5) | |||||||||
อาร์เจนตินา | 2 | |||||||||
ชิลี | 1 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]บราซิล | 0–0 | ปารากวัย |
---|---|---|
ลูกโทษ | ||
วีลียัง มาร์กิญญุส โกชิญญู ฟีร์มีนู กาบรีแยล เฌซุส |
4–3 | โกเมซ อัลมิรอน บัลเดซ ร. โรฆัส กอนซาเลซ |
โคลอมเบีย | 0–0 | ชิลี |
---|---|---|
ลูกโทษ | ||
โรดริเกซ การ์โดนา กัวดราโด มินา เตซิโย |
4–5 | บิดัล บาร์กัส ปุลการ์ อารังกิซ ซันเชซ |
อุรุกวัย | 0–0 | เปรู |
---|---|---|
ลูกโทษ | ||
ซัวเรซ กาบานิ เอสตัวนิ เบนตังกูร์ ตอร์เรย์รา |
4–5 | เกร์เรโร รุยดิอัซ โยตุน อัดบิงกูลา โฟลเรส |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]บราซิล | 2–0 | อาร์เจนตินา |
---|---|---|
กาบรีแยล เฌซุส 19' ฟีร์มีนู 71' |
นัดชิงอันดับที่สาม
[แก้]รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]บราซิล | 3–1 | เปรู |
---|---|---|
แอแวร์ตง 15' กาบรีแยล เฌซุส 45+3' รีชาร์ลีซง 90' (ลูกโทษ) |
เกร์เรโร 44' (ลูกโทษ) |
สถิติ
[แก้]ผู้ทำประตู
[แก้]มีการทำประตู 60 ประตู จากการแข่งขัน 26 นัด เฉลี่ย 2.31 ประตูต่อนัด
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
- เปาโล ดิบาลา
- โยบานิ โล เซลโซ
- ลิโอเนล เมสซิ
- เลโอเนล ฆุสติเนียโน
- มาร์เซโล มาร์ตินส์
- กาเซมีรู
- ดานีแยล อัลวิส
- รีชาร์ลีซง
- วีลียัง
- โฆเซ เปโดร ฟูเอนซาลิดา
- เอริก ปุลการ์
- อาร์ตูโร บิดัล
- กุสตาโบ กูเอยาร์
- โรเยร์ มาร์ติเนซ
- อังเฆล เมนา
- เอเนร์ บาเลนเซีย
- โชยะ นากาจิมะ
- โอสการ์ การ์โดโซ
- เดร์ลิส กอนซาเลซ
- ริชาร์ด ซันเชซ
- เยเฟร์ซอน ฟาร์ฟัน
- โยชิมาร์ โยตุน
- อัลมัวะอซ์ อะลี
- โฆเซ ฆิเมเนซ
- นิโกลัส โลเดย์โร
- โยเซฟ มาร์ติเนซ
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- อาร์ตูโร มินา (ในนัดที่พบกับ อุรุกวัย)
- โรดริโก โรฆัส (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน
[แก้]ตามแบบแผนทางสถิติในฟุตบอล, การแข่งขันที่ตัดสินในช่วงต่อเวลาจะถูกนับเป็นชัยชนะและการแพ้ด้วยการดวลลูกโทษจะนับเป็นเสมอ
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | ผลงานในรอบสุดท้าย |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บราซิล | 6 | 4 | 2 | 0 | 13 | 1 | +12 | 14 | ชนะเลิศ |
2 | เปรู | 6 | 2 | 2 | 2 | 7 | 9 | −2 | 8 | รองชนะเลิศ |
3 | อาร์เจนตินา | 6 | 3 | 1 | 2 | 7 | 6 | +1 | 10 | อันดับที่สาม |
4 | ชิลี | 6 | 2 | 1 | 3 | 7 | 7 | 0 | 7 | อันดับที่สี่ |
5 | โคลอมเบีย | 4 | 3 | 1 | 0 | 4 | 0 | +4 | 10 | ตกรอบใน รอบก่อนรองชนะเลิศ |
6 | อุรุกวัย | 4 | 2 | 2 | 0 | 7 | 2 | +5 | 8 | |
7 | เวเนซุเอลา | 4 | 1 | 2 | 1 | 3 | 3 | 0 | 5 | |
8 | ปารากวัย | 4 | 0 | 3 | 1 | 3 | 4 | −1 | 3 | |
9 | ญี่ปุ่น | 3 | 0 | 2 | 1 | 3 | 7 | −4 | 2 | ตกรอบใน รอบแบ่งกลุ่ม |
10 | กาตาร์ | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 | |
11 | เอกวาดอร์ | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 7 | −5 | 1 | |
12 | โบลิเวีย | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 9 | −7 | 0 |
รางวัล
[แก้]- รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า: ดานีแยล อัลวิส
- รางวัลดาวซัลโวสูงสุด: แอแวร์ตง (3 ประตู)
- รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม: อาลีซง
- รางวัลทีมแฟร์เพลย์: บราซิล
ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์
[แก้]ผู้รักษาประตู | กองหลัง | กองกลาง | กองหน้า |
---|---|---|---|
ดานีแยล อัลวิส (บราซิล) |
อาร์ตูร์ (บราซิล) |
ฮาเมส โรดริเกซ (โคลอมเบีย) |
การตลาด
[แก้]ตัวนำโชค
[แก้]ตัวนำโชค หรือ มาสคอตประจำการแข่งขันครั้งนี้คือ ซิซิโต โดยเป็นตัวแคพิบารา โดยชื่อนั้นตั้งตามชื่อของ ซิซิโต นักฟุตบอลชาวบราซิล ผู้ล่วงลับ ผู้ทำประตูสูงสุดตลอดกาลของโกปาอาเมริกาที่ 17 ประตู โดยเทียบเท่ากับ นอเบร์โต โดโรตีโอ เมนเดซ กองหน้าชาวอาร์เจนตินา[47]
คำขวัญ
[แก้]คำขวัญประจำการแข่งขันโกปาอาเมริกา 2019 คือ "Vibra el Continente/Vibra o Continente" (Rocking the Continent).
เพลงประจำการแข่งขัน
[แก้]เพลงประจำการแข่งขัน คือ เพลง "วีบรา โกติเนนเต" โดย เลโอ ซันตานา และ กาโรล เค ศิลปินชาวบราซิลและชาวโคลอมเบีย ตามลำดับ[48]
สิทธิการออกอากาศ
[แก้]คอนเมบอล
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
บราซิล (เจ้าภาพ) | Rede Globo | นัดที่ได้ทำการเลือกถ่ายทอดสดไว้ (รวมไปถึงนัดที่ทีมชาติบราซิลลงสนามทั้งหมดและนัดชิงชนะเลิศ) | [49] |
SporTV | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [50][51] | |
ทวีปอเมริกาใต้ | DirecTV Sports | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | |
อาร์เจนตินา | Televisión Pública Argentina | ทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัดและทุกนัดที่ทีมชาติอาร์เจนตินาลงสนาม) | [52] |
TyC Sports | ทุกนัดที่เลือกไว้ | ||
โบลิเวีย | Bolivia TV | ทุกนัดที่เลือกไว้ | |
Tigo Sports | ทุกนัดที่เลือกไว้ | ||
ปารากวัย | |||
ชิลี | Canal 13 | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติชิลีลงสนาม, และนัดชิงชนะเลิศ) | [53] |
TVN | |||
CDF | |||
โคลอมเบีย | Caracol Televisión | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติโคลอมเบียลงสนาม, และนัดชิงชนะเลิศ) | |
เอกวาดอร์ | Teleamazonas | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [54] |
เปรู | América Televisión | 23 จาก 26 นัดที่ถ่ายทอดสด (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติเปรูลงสนาม, และนัดชิงชนะเลิศ) | [55] |
อุรุกวัย | Teledoce | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัด, ทั้งหมดที่ทีมชาติอุรุกวัยลงสนาม) | |
Dexary | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [56] | |
เวเนซุเอลา | TVES | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [57] |
IVC | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | ||
Venevisión | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงรอบสุดท้ายและนัดชิงชนะเลิศ, ทั้งหมดที่ทีมชาติเวเนซุเอลาลงสนาม) |
คอนคาแคฟ
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
แคนาดา | TSN (อังกฤษ) | ทั้งหมด 26 นัดที่ถ่ายทอดสด | [58][59] |
RDS (ฝรั่งเศส) | [60] | ||
แม่แบบ:Country data Caribbean | Digicel | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง SportsMax | [61] |
ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดตามลำดับ | |||
เม็กซิโก | TV Azteca | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัดและนัดชิงชนะเลิศ) | |
คอสตาริกา | Repretel | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง 6 และ 11 | [62] |
เอลซัลวาดอร์ | TCS | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
ฮอนดูรัส | Canal 6 | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงนัดเปิดสนามหนึ่งนัดและนัดชิงชนะเลิศ) | |
Tigo Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | ||
ปานามา | RPC-TV | ถ่ายทอดสดทุกนัดที่เลือกไว้ตามลำดับ | [63] |
TVMax | [64] | ||
สหรัฐ | ESPN | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดในภาษาอังกฤษและภาษาโปรตุเกสทางช่อง ESPN+ | [65] |
NBC Sports Group | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดในภาษาสเปนทางช่อง NBCUniversal's Telemundo, Universo, เว็บไซต์ Telemundo Deportes, Telemundo Now, และ Universo Now ตามลำดับ. | [66][67] |
ทั่วโลก
[แก้]ประเทศ | สถานีการออกอากาศ | หมายเหตุ | อ้างอิง |
---|---|---|---|
ออสเตรีย | DAZN | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
เยอรมนี | [68] | ||
อิตาลี | |||
ญี่ปุ่น (ทีมรับเชิญ) | |||
สเปน | [69] | ||
สวิตเซอร์แลนด์ | |||
บีอินสปอตส์ | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [70] | |
ฝรั่งเศส | [71] | ||
แม่แบบ:Country data MENA (รวมไปถึงทีมรับเชิญ) | [72] | ||
นิวซีแลนด์ | |||
แอลเบเนีย | DigitAlb | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง SuperSport | [73] |
คอซอวอ | |||
Balkans | Arena Sport | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
เบลเยียม | Telenet | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Play Sports | [74] |
กัมพูชา | CBS | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง CTN, CNC, และ MyTV | [75] |
จีน | CCTV | รอบแบ่งกลุ่ม: ทุกนัดทั้งหมดของทีมชาติบราซิล, อาร์เจนตินา และ ญี่ปุ่น รอบแพ้คัดออก: ทุกนัดทั้งหมด ถ่ายทอดสดทาง CCTV.com, CCTV Sports แอปพลิเคชัน และ CCTV-5 |
[76] |
เช็กเกีย | O2 | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง both Football และ Sport channels | [77] |
กรีซ | ERT | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Sports | [78] |
ฮ่องกง | Now TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
ฮังการี | Sport TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [79] |
ไอซ์แลนด์ | 365 | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Stöð 2 Sport 1 และ 2 | [80] |
อินโดนีเซีย | Kompas Gramedia | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง K-Vision, ไฮไลท์การแข่งขันยังมีออกอากาศทางช่อง Kompas TV. | [81] |
MNC Media | ที่เหลืออยู่ 16 จาก 26 นัด (13 นัดถ่ายทอดสดทาง Soccer และ 3 นัดรอบแบ่งกลุ่มนั้นจัดขี้นในวันเดียวกันและเวลาการถ่ายทอดสดทางช่อง Sports channels) จำหน่ายเท่านั้นผ่าน MNC Vision, ไฮไลท์การแข่งขันยังมีออกอากาศทางช่อง RCTI, MNCTV, GTV, iNews, and MNC News. | [82][83] | |
อิหร่าน | IRIB | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง TV3 และ Varzesh | |
ไอร์แลนด์ | Eir Sport | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง 1 และ 2 | |
FreeSports | Highlights and encore only | ||
สหราชอาณาจักร | |||
Premier Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [84] | |
อิสราเอล | Charlton | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Sport 1 และ Sport 2 | |
คาซัคสถาน | Setanta Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [85] |
มาเลเซีย | RTM | 20 จาก 26 นัด (17 ถ่ายทอดสด และ 3 ดีเลย์) ทางช่อง TV1, TV2, และ Sport channel | [86] |
เนเธอร์แลนด์ | Fox Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางสามช่อง ช่องต่างประเทศ | [87] |
นอร์ดิกส์ | NENT | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Viasport และ Viaplay | [88] |
โปแลนด์ | Polsat | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Sport และ Extra | [89] |
โปรตุเกส | Sport TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [90] |
โรมาเนีย | Eurosport | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [91] |
รัสเซีย | Match TV | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
กาตาร์ | Al Kass | แต่ละนัดที่เลือกไว้ (รวมไปถึงทุกนัดทั้งหมดที่ทีมชาติกาตาร์ลงสนาม) ถ่ายทอดสดทางช่อง Extra One และ Two | [92] |
สิงคโปร์ | StarHub | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสดทางช่อง Hub Sports | [93] |
สโลวาเกีย | Orange | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [94] |
เกาหลีใต้ | JTBC3 Fox Sports | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [95] |
CRTVG | 10 จาก 26 นัดถ่ายทอดสดในกาลิเซียนทางช่อง tvG2 | [96] | |
Sub-Saharan Africa | StarTimes | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [97] |
ไต้หวัน | ELTA | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | |
ทาจิกิสถาน | Televizioni Tojikiston | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Varzish และ Futbol | |
ไทย | พีพีทีวี | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [98] |
ตุรกี | TRT | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Sport channel | [99] |
อุซเบกิสถาน | NTRCU | ทุกนัดที่เลือกไว้ทำการถ่ายทอดสดทางช่อง Sport channel | [100] |
เวียดนาม | FPT Group | ทั้งหมด 26 นัดถ่ายทอดสด | [101] |
K+ |
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "USA, Mexico and two Euro giants could play in 2019 Copa America in Brazil". CBS Sports (ภาษาอังกฤษ). 10 May 2017.
- ↑ "FIFA Council makes key decisions for the future of football development". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 26 October 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-15. สืบค้นเมื่อ 26 October 2018.
- ↑ "La Copa América da otro paso hacia Chile" [The Copa América takes another step towards Chile]. La Nación (ภาษาสเปน). 8 August 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-09. สืบค้นเมื่อ 2019-01-25.
- ↑ Oficial: la Copa América 2015 en Chile เก็บถาวร 13 พฤษภาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "Sem europeus, Brasil busca alternativas para ter 16 times na Copa América de 2019" [Without european teams, Brazil is looking for alternatives to having 16 teams in 2019 Copa América] (ภาษาโปรตุเกส). Globo Esporte. 16 March 2018.
- ↑ "Surprise Nation to Be Included in Copa America 2019 to Be Held in Brazil". Sports Illustrated. 5 April 2018. สืบค้นเมื่อ 5 April 2018.
- ↑ Jaafar, Karim (12 April 2018). "Qatar say yes to playing in 2019 Copa America". AFP.com. Agence France-Presse. สืบค้นเมื่อ 12 April 2018.
- ↑ "Copa América BRASIL 2019 se disputará con 12 selecciones". Conmebol (ภาษาสเปน). 4 May 2018. สืบค้นเมื่อ 4 May 2018.
- ↑ "Morumbi fará abertura da Copa América. Allianz recebe os outros jogos em SP" (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). สืบค้นเมื่อ 2018-09-18.
- ↑ "Comité Organizador Local confirma estadios de apertura, final y semifinales de la CONMEBOL Copa América Brasil 2019". CONMEBOL.com. 18 September 2018.
- ↑ "Arena Corinthians entra na vaga do Allianz Parque para a Copa América" (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). สืบค้นเมื่อ 2018-11-23.
- ↑ "El 24 de enero en Río de Janeiro se celebrará el sorteo de la Copa América Brasil 2019 | CONMEBOL". www.conmebol.com (ภาษาสเปน). 19 October 2018. สืบค้นเมื่อ 19 October 2018.
- ↑ "Comienza a vibrar el continente: Definidos los grupos de la CONMEBOL Copa América Brasil 2019". CONMEBOL.com. 24 January 2019.
- ↑ 14.0 14.1 "CONMEBOL y Comité Organizador Local definen calendario de la CONMEBOL Copa América Brasil 2019" [CONMEBOL and Local Organizing Committee define the calendar of the CONMEBOL Copa América Brazil 2019] (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 18 December 2018. สืบค้นเมื่อ 18 December 2018.
- ↑ "FIFA/Coca-Cola World Ranking: Men's Ranking (20 December 2018)". FIFA. 20 December 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-05. สืบค้นเมื่อ 19 April 2019.
- ↑ "Mecánica del sorteo de grupos de la CONMEBOL Copa América - Brasil 2019" (ภาษาสเปน). CONMEBOL.com. 18 January 2018.
- ↑ "Árbitros convocados para la CONMEBOL Copa América - Brasil 2019". CONMEBOL.com. 21 March 2019.
- ↑ "Nos complace informarles que la Comisión de Árbitros ha designado a los árbitros y árbitros asistentes de sus respectivas asociaciones para participar de la CONMEBOL COPA AMÉRICA BRASIL 2019" (PDF). CONMEBOL.com.
- ↑ 19.0 19.1 "CONMEBOL Copa América Brasil 2019: Reglamento" [CONMEBOL Copa América Brazil 2019: Regulations] (PDF) (ภาษาสเปน). CONMEBOL. 26 April 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 May 2019. สืบค้นเมื่อ 29 April 2019.
- ↑ "Match Schedule" (PDF). CONMEBOL.com.
- ↑ "Brazil vs. Bolivia". ESPN. 14 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
- ↑ "Venezuela vs. Peru". ESPN. 15 June 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
- ↑ "Bolivia vs. Peru". ESPN. 18 June 2019. สืบค้นเมื่อ 19 June 2019.
- ↑ "Brazil vs. Venezuela". ESPN. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 19 June 2019.
- ↑ "Peru vs. Brazil". ESPN. 22 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Bolivia vs. Venezuela". ESPN. 22 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Argentina vs. Colombia". ESPN. 15 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Paraguay vs. Qatar". ESPN. 16 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Colombia vs. Qatar". ESPN. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2019.
- ↑ "Argentina vs. Paraguay". ESPN. 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2019.
- ↑ "Qatar vs. Argentina". ESPN. 23 June 2019. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
- ↑ "Colombia vs. Paraguay". ESPN. 23 June 2019. สืบค้นเมื่อ 24 June 2019.
- ↑ "Uruguay vs. Ecuador". ESPN. 16 June 2019. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Japan vs. Chile". ESPN. 17 June 2019. สืบค้นเมื่อ 18 June 2019.
- ↑ "Uruguay vs. Japan". ESPN. 20 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Ecuador vs. Chile". ESPN. 21 June 2019. สืบค้นเมื่อ 22 June 2019.
- ↑ "Chile vs. Uruguay". ESPN. 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
- ↑ "Ecuador vs. Japan". ESPN. 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 25 June 2019.
- ↑ "Brazil vs. Paraguay". ESPN. 27 June 2019. สืบค้นเมื่อ 28 June 2019.
- ↑ "Venezuela vs. Argentina". ESPN. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 28 June 2019.
- ↑ "Ônibus do Chile pega trânsito, chega atrasado à Arena e jogo vai começar 20h20" (ภาษาโปรตุเกส). Globoesporte.com. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 2 July 2019.
- ↑ "Colombia vs. Chile". ESPN. 28 June 2019. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ "Uruguay vs. Peru". ESPN. 29 June 2019. สืบค้นเมื่อ 29 June 2019.
- ↑ "Brazil vs. Argentina". ESPN. 2 July 2019. สืบค้นเมื่อ 3 July 2019.
- ↑ "Chile vs. Peru". ESPN. 3 July 2019. สืบค้นเมื่อ 4 July 2019.
- ↑ "Argentina vs. Chile". ESPN. 6 July 2019. สืบค้นเมื่อ 7 July 2019.
- ↑ "Zizito es escogido como nombre de la mascota de la CONMEBOL Copa América - Brasil 2019". CONMEBOL.com. 12 April 2019.
- ↑ https://www.billboard.com/articles/columns/latin/8515154/leo-santana-karol-g-vibra-continente-copa-america-song
- ↑ "Globo paga por Copa América no Brasil um terço do Paulista: R$ 51 mi - Esporte - UOL Esporte". UOL Esporte (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). สืบค้นเมื่อ 2018-12-03.
- ↑ Lucas, Naian (2018-11-23). "Band não vai exibir jogos da Copa América do Brasil 2019". O CANAL (ภาษาโปรตุเกสแบบบราซิล). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 2018-12-25.
- ↑ admin. "Copa America 2019 Broadcasting Rights In Brazil" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-02. สืบค้นเมื่อ 2019-04-02.
- ↑ Clarín Group. "La TV Pública transmitirá la Copa América de Brasil 2019". Clarín Group (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2019-05-22.
- ↑ "Canal 13 y TVN transmitirán la Copa América 2019 en conjunto". adnradio.cl (ภาษาสเปน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-24. สืบค้นเมื่อ 2019-04-23.
- ↑ "La Copa América Brasil-2019 se transmitirá en Ecuador por Teleamazonas". El Universo (ภาษาสเปน). 2019-03-29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-12. สืบค้นเมื่อ 2019-05-12.
- ↑ "Copa América 'Brasil 2019': América TV será el canal oficial en Perú". americadeportes (ภาษาสเปน). สืบค้นเมื่อ 2018-10-25.
- ↑ Cómo se negociaron los derechos de TV de la Copa - Portal 180, 11 June 2019
- ↑ TVES transmitirá en exclusiva los 26 partidos de Copa América Brasil 2019 เก็บถาวร 2019-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - TVES, 13 June 2019
- ↑ "Tous les matchs de la COPA AMERICA en exclusivité sur RDS DIRECT du 14 juin au 7 juillet". RDS. Bell Media. 30 May 2019. สืบค้นเมื่อ 15 June 2019.
- ↑ "2019 COPA America Broadcast Schedule". TSN. 7 June 2019. สืบค้นเมื่อ 20 June 2019.
- ↑ "Tous les matchs de la COPA AMERICA en exclusivité sur RDS DIRECT du 14 juin au 7 juillet – Bell Media" (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 2019-06-15.
- ↑ "SportsMax TV on Instagram: "Who's ready for the Copa America this summer? Football has no days off! Catch the Copa America on the Home Of Champions June 14 to July 7.…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-05-22.
- ↑ Bertran, Agustin (2019-04-17). "Repretel transmitirá la Copa América en exclusiva en Costa Rica". NexTV News Latin America (ภาษาสเปนแบบยุโรป). สืบค้นเมื่อ 2019-06-13.[ลิงก์เสีย]
- ↑ RPC (2019-04-16), La Copa América la vivís por la RPC, สืบค้นเมื่อ 2019-06-14
- ↑ "TVMAX Panamá". www.facebook.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-15.
- ↑ Harris, Christopher (2019-03-20). "ESPN+ acquires Copa América rights in English and Portuguese for US market". World Soccer Talk (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-30. สืบค้นเมื่อ 2019-03-30.
- ↑ "Telemundo Scores 2019 Copa America TV Rights". Multichannel (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2018-10-25.
- ↑ "Telemundo Deportes broadcast Copa America 2019 live in Spanish" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2018-12-31.
- ↑ "DAZN überträgt Copa America und Gold Cup". Focus.de (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-05. สืบค้นเมื่อ 2019-06-04.
- ↑ "Oficial: DAZN dará la Copa América". as.com (ภาษาสเปน). 2019-06-13. สืบค้นเมื่อ 2019-06-13.
- ↑ "BeIN adds Australia, New Zealand to Copa América coverage". Sportbusiness.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-05-17.
- ↑ "CAN, Copa, Euro Espoirs : Votre été sera chaud sur beIN SPORTS". beIN SPORTS France (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "All you need to know about the 2019 Copa America Draw". beIN SPORTS (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "DigitAlb". ms-my.facebook.com (ภาษามาเลย์). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "Copa America: vanaf 14 juni live op Play Sports!". Play Sports (ภาษาเฟลมิช). สืบค้นเมื่อ 2019-05-28.
- ↑ "ផ្លូវការ! CBS ទទួលបានសិទ្ធផ្សាយបន្តផ្ទាល់ពានរង្វាន់ Copa America 2019 ពីប្រទេសប្រេស៊ីល". MSR Sport (ภาษาเขมร). สืบค้นเมื่อ 2019-05-17.
- ↑ 央视体育. "2019美洲杯6月15日开幕 央视体育独家全媒体版权邀你来看". weibo.com (ภาษาจีนตัวย่อ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-19.
- ↑ "Turnaj Copa América prinesie slovenským divákom Orange Sport, českým O2 TV Sport". SatelitnaTV (ภาษาสโลวัก). สืบค้นเมื่อ 2019-04-28.
- ↑ Απρ. 2019 20:48, Επιμέλεια: Νίκος Συριώδης Δημοσίευση: 12. "Το Copa America στην ΕΡΤ". www.sport24.gr (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "A Copa América és az Afrikai Nemzetek Kupája is a Sport TV-re költözik". www.sport1tv.hu (ภาษาฮังการี). สืบค้นเมื่อ 2019-06-01.
- ↑ Copa America (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2019-06-15
- ↑ "Official Account K-Vision TV on Instagram: "KABAR GEMBIRA UNTUK SELURUH PELANGGAN K-VISION!! 🎉 . COPA AMERICA 2019 SEGERA TAYANG EKSKLUSIF DI K-VISION! . Aktifkan Paket Juara (J01)…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-14.
- ↑ "Soccer Channel 101 on Instagram: "Mau tahu bagaimana keseruan para tim favorit kalian yang akan berlaga di lapangan hijau, diajang bergengsi ini? . Saksikan Turnamen Sepak…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-20.
- ↑ "MNCVisionID on Instagram: "Saksikan pertandingan spektakuler Conmebol Copa America Brazil 2019. MNC Vision siap memanjakan pecinta bola tanah air dan ikut menjadi…"". Instagram (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-21.
- ↑ "Premier Sports secures Copa América rights in the UK this summer". Premier Sports (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-12. สืบค้นเมื่อ 2019-05-28.
- ↑ "Setanta Qazaqstan футбол жанкүйерлерін қуантуға асығады! Телеарна 14 маусым мен 7 шілде аралығында Бразилияда өтетін Copa America 2019 турнирінің матчтарын көрсету құқығын иеленді". Setanta Qazaqstan (ภาษาคาซัค). สืบค้นเมื่อ 2019-06-13.
- ↑ Ismail, Sulaiman (2019-04-03). "RTM Berjaya Dapat Hak Penyiaran Copa America 2019". Semuanya BOLA (ภาษามาเลย์). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "Copa America in juni live op FOX Sports". Fox Sports NL (ภาษาดัตช์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-28. สืบค้นเมื่อ 2019-05-28.
- ↑ "NENT snap up Nordic Bundesliga rights in big soccer land grab - SportsPro Media". www.sportspromedia.com. สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "Copa America 2019 w Polsacie Sport!". Polsat Sport (ภาษาโปแลนด์). สืบค้นเมื่อ 2019-06-09.
- ↑ "Portugals Sport TV channel has officially won the Copa America 2019 Brazil Spotlight" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-04-28.
- ↑ "Eurosport Romania scores exclusive rights to 2019 Copa America" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-10. สืบค้นเมื่อ 2019-04-10.
- ↑ الكاس, قنوات (2019-06-14). "تعرف على ترددات قنوات الكاس خلال بطولة #كوبا_أمريكا 2019 " الكاس extra one والكاس extra two "pic.twitter.com/6aqLTbhCjG". Al Kass (ภาษาอาหรับ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-16.
- ↑ Copa America and Concacaf Gold Cup comes to Hub Sports! (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2019-06-13
- ↑ "Turnaj Copa América prinesie slovenským divákom Orange Sport, českým O2 TV Sport". SatelitnaTV (ภาษาสโลวัก). สืบค้นเมื่อ 2019-04-28.
- ↑ "JTBC3 폭스스포츠, 코파아메리카 2019 생중계". JTBC3 Fox Sports (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ 2019-06-05.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "A Galega, única canle en España que ofrece os partidos da Copa América 2019 en aberto | CRTVG". CRTVG (ภาษากาลิเซีย). สืบค้นเมื่อ 2019-06-16.
- ↑ "StarTimes picks up Copa América rights in sub-Saharan Africa". SportBusiness (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-06.
- ↑ "PPTV HD 36". www.facebook.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-06-15.
- ↑ "Copa America maçları TRT Spor'dan canlı yayınlanacak". Sabah (ภาษาตุรกี). สืบค้นเมื่อ 2019-05-22.
- ↑ "Sport-TV telekanali Amerika Kubogi—2019 musobaqasi translyatsiya huquqini qo'lga kiritdi". Daryo (ภาษาอุซเบก). สืบค้นเมื่อ 2019-04-14.
- ↑ "FPT Play sở hữu bản quyền của Copa America 2019". laodong.vn (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ 2019-06-01.