ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 8046207 สร้างโดย 223.206.250.249 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
}}
}}


'''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' พระ[[มเหสี]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] หรือพระนามเดิม '''หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์''' เป็นพระธิดาพระองค์รองใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี]] อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2397<ref>http://theyoung.net/tamneap_vip/49_queen/49_37.htm</ref><ref>{{อ้างหนังสือ
<!-- -->

'''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' พระ[[มเหสี]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว|รัชกาลที่ 5]] หรือพระนามเดิม '''หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์''' เป็นพระธิดาพระองค์รองใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี]] อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ [[๒๖ มกราคม]] [[พ.ศ. 2397|พ.ศ. ๒๓๙๗]] <ref>http://theyoung.net/tamneap_vip/49_queen/49_37.htm</ref><ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=จิรวัฒน์ อุตตมะกุล
|ผู้แต่ง=จิรวัฒน์ อุตตมะกุล
|ชื่อหนังสือ=พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ ๕
|ชื่อหนังสือ=พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ ๕
บรรทัด 30: บรรทัด 28:
</ref>
</ref>


หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมี[[กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ]] (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ
หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมี[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร]] (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ
* หม่อมเจ้าบัว ลดาวัลย์ เมื่อเป็นพระ[[มเหสี]] ทรงมีอิสริยยศเป็น [[พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค]]
* หม่อมเจ้าบัว ลดาวัลย์ เมื่อเป็นพระ[[มเหสี]] ทรงมีอิสริยยศเป็น [[พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าอุบลรัตนนารีนาค]]
* หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์ เมื่อเป็นพระ[[มเหสี]] ทรงมีอิสริยยศเป็น [[พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์]]
* หม่อมเจ้าสาย ลดาวัลย์ เมื่อเป็นพระ[[มเหสี]] ทรงมีอิสริยยศเป็น [[พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์]]


หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ ทรงรับราชการฝ่ายในเป็นพระ[[มเหสี]]ทรงอิสริยยศเป็น มีพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ
หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ ทรงรับราชการฝ่ายในเป็นพระ[[มเหสี]]ทรงอิสริยยศเป็น มีพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ประสูติในปี พ.ศ. 2416 ต่อมาทรงเฉลิมพระยศเป็น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์]] หรือ '''สมเด็จหญิงใหญ่'''
*เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ประสูติในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ ต่อมาทรงเฉลิมพระยศเป็น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์]] หรือ '''สมเด็จหญิงใหญ่'''


ภายหลังมีพระประสูติกาลพระราชธิดาแล้ว ได้รับสถาปนาเป็น '''พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' คนทั่วไปขนาดพระนามว่า '''ท่านพระองค์กลาง'''
ภายหลังมีพระประสูติกาลพระราชธิดาแล้ว ได้รับสถาปนาเป็น '''พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' คนทั่วไปขนาดพระนามว่า '''ท่านพระองค์กลาง'''


หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ทรงเป็นที่โปรดปรานของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร]]มาก ถึงกับทรงตั้งพระทัยจะให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระอัคร[[มเหสี]]เลยทีเดียว แต่ว่าหม่อมเจ้าเสาวภาคยนารีรัตนมีพระพลานามัยไม่สู้จะสมบูรณ์นัก ประสูติพระราชธิดาพระองค์ ๑ แล้วก็ประชวรกระเสาะกระแสะเรื่อยมา จนกระทั่ง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ พระองค์ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศหลังจากสิ้นพระชนม์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าออกพระนามว่า '''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ เสมอ[[พระองค์เจ้าต่างกรม]]ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] ตามตำแหน่งพระอรรคชายาเธอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/031/251.PDF คำประกาศตั้งพระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคน่รีรัตน ขึ้นเป็น พระองค์เจ้า มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัต ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ เสมอเจ้าต่างกรมในพระบรมมหาราชวังตามพระอรรคชายาเธอ], เล่ม ๔, ตอน ๓๑, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๑๘๘๗, หน้า ๒๕๑ </ref>
หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ทรงเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูรมาก ถึงกับทรงตั้งพระทัยจะให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระอัคร[[มเหสี]]เลยทีเดียว แต่ว่าหม่อมเจ้าเสาวภาคยนารีรัตนมีพระพลานามัยไม่สู้จะสมบูรณ์นัก ประสูติพระราชธิดาพระองค์ ๑ แล้วก็ประชวรกระเสาะกระแสะเรื่อยมา จนกระทั่ง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 พระองค์ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศหลังจากสิ้นพระชนม์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าออกพระนามว่า '''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์''' ทรงศักดินา 15000 เสมอ[[พระองค์เจ้าต่างกรม]]ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] ตามตำแหน่งพระอรรคชายาเธอ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/031/251.PDF คำประกาศตั้งพระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคน่รีรัตน ขึ้นเป็น พระองค์เจ้า มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัต ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ เสมอเจ้าต่างกรมในพระบรมมหาราชวังตามพระอรรคชายาเธอ], เล่ม ๔, ตอน ๓๑, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๑๘๘๗, หน้า ๒๕๑ </ref>


ในปีนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสูญเสียพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ]]ถึง พระองค์ ในปีเดียวกัน คือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์]] และ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง]] <ref>http://www.palaces.thai.net/new/bp/memo.htm#Thai</ref> จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์]]เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ เพื่อระลึกถึงพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาที่สิ้นพระชนม์ในปีเดียวกัน อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ทำด้วยหินอ่อนแกะสลักพระรูปเหมือนทั้ง 4 พระองค์ ตั้งอยู่ใกล้กับ[[อนุสาวรีย์พระนางเรือล่ม]] ที่[[พระราชวังบางปะอิน]]
ในปีนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสูญเสียพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ]]ถึง 3 พระองค์ ในปีเดียวกัน คือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์]] และ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง]] <ref>http://www.palaces.thai.net/new/bp/memo.htm#Thai</ref> จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์]]เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ เพื่อระลึกถึงพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาที่สิ้นพระชนม์ในปีเดียวกัน อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ทำด้วยหินอ่อนแกะสลักพระรูปเหมือนทั้ง 4 พระองค์ ตั้งอยู่ใกล้กับ[[อนุสาวรีย์พระนางเรือล่ม]] ที่[[พระราชวังบางปะอิน]]


{{clear}}
{{clear}}
บรรทัด 59: บรรทัด 56:
|-
|-
| rowspan="8" align="center"| '''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์<br />'''
| rowspan="8" align="center"| '''พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์<br />'''
| rowspan="4" align="center"| '''พระชนก:'''<br />[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์<br>กรมหมื่นภูมินทรภักดี]]
| rowspan="4" align="center"| '''พระชนก:'''<br />[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี]]
| rowspan="2" align="center"| '''พระอัยกาฝ่ายพระชนก:'''<br />[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| rowspan="2" align="center"| '''พระอัยกาฝ่ายพระชนก:'''<br />[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| align = "center"| '''พระปัยกาฝ่ายพระชนก:'''<br />[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
| align = "center"| '''พระปัยกาฝ่ายพระชนก:'''<br />[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
บรรทัด 90: บรรทัด 87:


{{เรียงลำดับ|เสาวภาคย์นารีรัตน์}}
{{เรียงลำดับ|เสาวภาคย์นารีรัตน์}}
{{อายุขัย|2397|2430}}
{{ประสูติปี|2397}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2430}}
[[หมวดหมู่:มเหสี]]
[[หมวดหมู่:พระอรรคชายาเธอ]]
[[หมวดหมู่:พระอรรคชายาเธอ]]
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้าตั้ง]]
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้าตั้ง]]
[[หมวดหมู่:พระองค์เจ้าหญิง]]
[[หมวดหมู่:พระภรรยาในรัชกาลที่ 5]]
[[หมวดหมู่:พระภรรยาในรัชกาลที่ 5]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลลดาวัลย์]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลลดาวัลย์]]


{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:30, 4 มกราคม 2562

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
พระอรรคชายา
ประสูติ26 มกราคม พ.ศ. 2397
สิ้นพระชนม์21 กรกฎาคม พ.ศ. 2430
พระราชสวามีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชบุตรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์
ราชวงศ์ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี
พระมารดาเจ้าจอมมารดาจีน

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์รองในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2397[1][2]

หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ

หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ ทรงรับราชการฝ่ายในเป็นพระมเหสีทรงอิสริยยศเป็น มีพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร ประสูติในปี พ.ศ. 2416 ต่อมาทรงเฉลิมพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทราสรัทวาร กรมขุนพิจิตรเจษฎ์จันทร์ หรือ สมเด็จหญิงใหญ่

ภายหลังมีพระประสูติกาลพระราชธิดาแล้ว ได้รับสถาปนาเป็น พระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ คนทั่วไปขนาดพระนามว่า ท่านพระองค์กลาง

หม่อมเจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ทรงเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูรมาก ถึงกับทรงตั้งพระทัยจะให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระอัครมเหสีเลยทีเดียว แต่ว่าหม่อมเจ้าเสาวภาคยนารีรัตนมีพระพลานามัยไม่สู้จะสมบูรณ์นัก ประสูติพระราชธิดาพระองค์ ๑ แล้วก็ประชวรกระเสาะกระแสะเรื่อยมา จนกระทั่ง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2430 พระองค์ได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศหลังจากสิ้นพระชนม์ขึ้นเป็นพระองค์เจ้าออกพระนามว่า พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ ทรงศักดินา 15000 เสมอพระองค์เจ้าต่างกรมในพระบรมมหาราชวัง ตามตำแหน่งพระอรรคชายาเธอ[3]

ในปีนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสูญเสียพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถถึง 3 พระองค์ ในปีเดียวกัน คือ พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย กรมพระเทพนารีรัตน์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพชรุตม์ธำรง [4] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์ราชานุสรณ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ เพื่อระลึกถึงพระอรรคชายาเธอ พระราชโอรส และพระราชธิดาที่สิ้นพระชนม์ในปีเดียวกัน อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ทำด้วยหินอ่อนแกะสลักพระรูปเหมือนทั้ง 4 พระองค์ ตั้งอยู่ใกล้กับอนุสาวรีย์พระนางเรือล่ม ที่พระราชวังบางปะอิน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ราชตระกูล

พระราชตระกูลในสามรุ่นของพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์
พระชนก:
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูมินทรภักดี
พระอัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
สมเด็จพระศรีสุลาไลย
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนก:
เจ้าจอมมารดาเอมน้อย
พระปัยกาฝ่ายพระชนก:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนก:
ไม่มีข้อมูล
พระชนนี:
เจ้าจอมมารดาจีน
พระอัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระอัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล
พระปัยยิกาฝ่ายพระชนนี:
ไม่มีข้อมูล

อ้างอิง

  1. http://theyoung.net/tamneap_vip/49_queen/49_37.htm
  2. จิรวัฒน์ อุตตมะกุล. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ ๕. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มติชน, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2548. 398 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-322-964-7
  3. ราชกิจจานุเบกษา, คำประกาศตั้งพระอรรคชายาเธอ หม่อมเจ้าเสาวภาคน่รีรัตน ขึ้นเป็น พระองค์เจ้า มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัตรว่า พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคนารีรัต ทรงศักดินา ๑๕๐๐๐ เสมอเจ้าต่างกรมในพระบรมมหาราชวังตามพระอรรคชายาเธอ, เล่ม ๔, ตอน ๓๑, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๑๘๘๗, หน้า ๒๕๑
  4. http://www.palaces.thai.net/new/bp/memo.htm#Thai