ข้ามไปเนื้อหา

กุปเดอลาลีก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กุปเดอลาลีก
ก่อตั้งค.ศ. 1994
ยกเลิกค.ศ. 2020
จำนวนทีม42
ผ่านเข้าไปเล่นในยูฟ่ายูโรปาลีก
ทีมชนะเลิศล่าสุดปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (9 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (9 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์ฟร็องส์เดอ, ฟร็องส์ทรัว, ฟร็องส์กัทร์ (ฟร็องส์เตเลวีซียง)
กานาลปลุส
กุปเดอลาลีก ฤดูกาล 2019–20

กุปเดอลาลีก (ฝรั่งเศส: Coupe de la Ligue) เป็นการแข่งขันชิงถ้วยแบบแพ้คัดออกในฟุตบอลฝรั่งเศส จัดโดยสันนิบาตฟุตบอลอาชีพ[1] การแข่งขันเริ่มมีขึ้นในปี ค.ศ. 1994[2] และเปิดรับเฉพาะสโมสรอาชีพในฝรั่งเศสที่เล่นในดิวิชันสูงสุดสามดิวิชันของประเทศเท่านั้น (ต่างจากกุปเดอฟร็องส์) แต่ปัจจุบันมีสโมสรอาชีพสี่สโมสรที่เล่นในช็องปียอนานาซียอนาล[3]

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ (ค.ศ. 1963–1994)

[แก้]

กุปเดอลาลีก (ค.ศ. 1963–1965)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม จำนวนผู้ชม
1964 สทราซบูร์ 2–0 รูอ็อง สตาดเดอลาแมโน 7,494
1965 น็องต์ 4–1 ตูลงวาร์ ปาร์กเดแพร็งส์ 4,249

กุปเดเต/กุปเดอลาลีก (ค.ศ. 1982–1994)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม จำนวนผู้ชม
1982 ลาวาล 3–1 น็องซี สตาดเดอปารี 1,041
1984 ลาวาล 3–1 มอนาโก สนามกีฬาโอกุสต์ เดอโลน 5,000
1986 แม็ส 2–1 กาน สนามกีฬาปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง 7,000
1991 แร็งส์  *0–0 *[A] นียอร์ สนามกีฬาเรอเน กายาร์ 1,724
1992 มงเปอลีเย 3–1 อ็องเฌ สนามกีฬาฌ็อง บวง 4,882
1994 ล็องส์ 3–2 มงเปอลีเย สนามกีฬาเฟลิกซ์ บอลาร์ต 6,000

การแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ (ค.ศ. 1994–2020)

[แก้]
ปี ชนะเลิศ ผลคะแนน รองชนะเลิศ สนาม จำนวนผู้ชม
1995 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–0 บัสตียา ปาร์กเดแพร็งส์ 24,663
1996 แม็ส  *0–0 *[B] ลียง ปาร์กเดแพร็งส์ 45,368
1997 สทราซบูร์  *0–0 *[C] บอร์โด ปาร์กเดแพร็งส์ 39,878
1998 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง  *2–2 *[D] บอร์โด สตาดเดอฟร็องส์ 77,700
1999 ล็องส์ 1–0 แม็ส สตาดเดอฟร็องส์ 78,180
2000 เกอญง 2–0 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง สตาดเดอฟร็องส์ 75,400
2001 ลียง  †2–1 † มอนาโก สตาดเดอฟร็องส์ 78,000
2002 บอร์โด 3–0 ลอรีย็อง สตาดเดอฟร็องส์ 75,923
2003 มอนาโก 4–1 ซอโช-มงเบลียาร์ สตาดเดอฟร็องส์ 75,379
2004 ซอโช-มงเบลียาร์  *1–1 *[E] น็องต์ สตาดเดอฟร็องส์ 78,409
2005 สทราซบูร์ 2–1 ก็อง สตาดเดอฟร็องส์ 78,732
2006 น็องซี 2–1 นิส สตาดเดอฟร็องส์ 76,830
2007 บอร์โด 1–0 ลียง สตาดเดอฟร็องส์ 79,072
2008 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 ล็องส์ สตาดเดอฟร็องส์ 78,741
2009 บอร์โด 4–0 วาน สตาดเดอฟร็องส์ 75,822
2010 มาร์แซย์ 3–1 บอร์โด สตาดเดอฟร็องส์ 72,749
2011 มาร์แซย์ 1–0 มงเปอลีเย สตาดเดอฟร็องส์ 78,511
2012 มาร์แซย์  †1–0 † ลียง สตาดเดอฟร็องส์ 78,877
2013 แซ็งเตเตียน 1–0 แรน สตาดเดอฟร็องส์ 79,087
2014 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 ลียง สตาดเดอฟร็องส์ 78,489
2015 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–0 บัสตียา สตาดเดอฟร็องส์ 72,000
2016 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 2–1 ลีล สตาดเดอฟร็องส์ 68,640
2017 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 4–1 มอนาโก ปาร์กอแล็งปิกลียอแน 57,841
2018 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 3–0 มอนาโก นูโวสตาดเดอบอร์โด 41,248
2019 สทราซบูร์  *0–0 *[F] แก็งก็อง สนามกีฬาปีแยร์ โมรัว 49,161
2020 ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง  *0–0 *[G] ลียง สตาดเดอฟร็องส์ 3,500
หมายเหตุ
การแข่งขันชนะในช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ
* การแข่งขันชนะในช่วงการดวลลูกโทษ

ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสร

[แก้]
สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีชนะเลิศ ปีรองชนะเลิศ
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 9 1 1995, 1998, 2008, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2020 2000
สทราซบูร์ 4 0 1964, 1997, 2005, 2019
บอร์โด 3 3 2002, 2007, 2009 1997, 1998, 2010
มาร์แซย์ 3 0 2010, 2011, 2012
แม็ส 2 1 1986, 1996 1999
ล็องส์ 2 1 1994, 1999 2008
ลาวาล 2 0 1982, 1984
ลียง 1 5 2001 1996, 2007, 2012, 2014, 2020
มอนาโก 1 4 2003 1984, 2001, 2017, 2018
มงเปอลีเย 1 1 1992 1994, 2011
น็องต์ 1 1 1965 2004
ซอโช-มงเบลียาร์ 1 1 2004 2003
น็องซี 1 1 2006 1982
แร็งส์ 1 0 1991
เกอญง 1 0 2000
แซ็งเตเตียน 1 0 2013
บัสตียา 0 2 1995, 2015
รูอ็อง 0 1 1964
ตูลงวาร์ 0 1 1965
กาน 0 1 1986
นียอร์ 0 1 1991
อ็องเฌ 0 1 1992
ลอรีย็อง 0 1 2002
ก็อง 0 1 2005
นิส 0 1 2006
วาน 0 1 2009
แรน 0 1 2013
ลีล 0 1 2016
แก็งก็อง 0 1 2019

หมายเหตุ

[แก้]
A. ^ : แร็งส์ ชนะ 4–3 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1991 ในการดวลลูกโทษ.
B. ^ : แม็ส ชนะ 5–4 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1996 ในการดวลลูกโทษ.
C. ^ : สทราชบูร์ ชนะ 6–5 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1997 ในการดวลลูกโทษ.
D. ^ : ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ชนะ 4–2 ในนัดชิงชนะเลิศปี 1998 ในการดวลลูกโทษ.
E. ^ : ซอโช ชนะ 5–4 ในนัดชิงชนะเลิศปี 2004 ในการดวลลูกโทษ.
F. ^ : สทราชบูร์ ชนะ 4–1 ในนัดชิงชนะเลิศปี 2019 ในการดวลลูกโทษ.
G. ^ : ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ชนะ 6–5 ในนัดชิงชนะเลิศปี 2020 ในการดวลลูกโทษ.

อ้างอิง

[แก้]
  1. "League Cup". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2009. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2009.
  2. "League Cup History". Ligue de Football Professionnel. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 February 2008. สืบค้นเมื่อ 20 February 2009.
  3. "France Summer Cup 1982". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 20 February 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]