การลงประชามติแยกเป็นเอกราช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การลงประชามติเอกราชติมอร์ตะวันออก ในปี 1999
การลงประชามติแยกซูดานใต้เป็นเอกราช ในปี 2011

การลงประชามติแยกเป็นเอกราช (อังกฤษ: Independence referendum) คือ การลงประชามติประเภทหนึ่งซึ่งพลเมืองในดินแดนหนึ่งตัดสินว่าดินแดนนั้นควรเป็นประเทศเอกราชใหม่หรือไม่

ขั้นตอน[แก้]

การเจรจาต่อรอง[แก้]

ควันหลง[แก้]

การลงประชามติในอดีต[แก้]

รัฐที่เสนอ ปี เสนอเป็นเอกราชจาก ฝ่ายข้างมาก เอกราช การรับรอง หมายเหตุ
 ชิลี 1817 สเปน ใช่ ใช่ ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 ไลบีเรีย 1846 American Colonization Society ใช่ ใช่ ใช่
แมริแลนด์ 1853 Maryland State Colonization Society ใช่ ใช่ ใช่
 นอร์เวย์ 1905 สวีเดน–นอร์เวย์ ใช่ ใช่ ใช่
ไอซ์แลนด์ 1918  เดนมาร์ก ใช่ ใช่ ใช่
รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย 1933  ออสเตรเลีย ใช่ ไม่ ไม่
 กัมพูชา 1945 ฝรั่งเศส ใช่ ใช่ ใช่
 มองโกเลีย 1945  จีน ใช่ ใช่ ใช่ เดิมทีสาธารณรัฐจีนให้การรับรอง แต่ภายหลังถอดถอนใน ค.ศ. 1953 สาธารณรัฐประชาชนจีนให้การรับรอง
 หมู่เกาะแฟโร 1946  เดนมาร์ก ใช่ ไม่ ไม่ ทางเดนมาร์กประกาศให้เป็นโมฆะ
 นิวฟันด์แลนด์ 1948  สหราชอาณาจักร ไม่ ไม่ ใช่ รวมเข้ากับแคนาดา
 รัฐนากาแลนด์ 1951  อินเดีย ใช่ ไม่ ไม่ รัฐบาลอินเดียไม่รับรอง[1]
 ซาร์ 1955  ฝรั่งเศส ไม่ ไม่ ใช่ รวมเข้ากับประเทศเยอรมนีตะวันตก
แคเมอรูน 1958 ไม่ ไม่ ใช่ การลงประชามติตามรัฐธรรมนูญฝรั่งเศส การไม่ลงคะแนนเสียงจะนำสู่การเป็นเอกราช
 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 ชาด 1958 ไม่ ไม่ ใช่
คอโมโรส 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 สาธารณรัฐคองโก 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 ดาโฮมีย์ 1958 ไม่ ไม่ ใช่
จิบูตี 1958 ไม่ ไม่ ใช่
เฟรนช์พอลินีเชีย 1958 ไม่ ไม่ ใช่
กาบอง 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 กินี 1958 ใช่ ใช่ ใช่
 โกตดิวัวร์ 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 มาดากัสการ์ 1958 ไม่ ไม่ ใช่
มาลี 1958 ไม่ ไม่ ใช่
มอริเตเนีย 1958 ไม่ ไม่ ใช่
นิวแคลิโดเนีย 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 ไนเจอร์ 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 แซ็งปีแยร์และมีเกอลง 1958 ไม่ ไม่ ใช่
เซเนกัล 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 อัปเปอร์วอลตา 1958 ไม่ ไม่ ใช่
 ซามัว 1961  นิวซีแลนด์ ใช่ ใช่ ใช่
 แอลจีเรีย 1962  ฝรั่งเศส ใช่ ใช่ ใช่
 มอลตา 1964  สหราชอาณาจักร ใช่ ใช่ ใช่
 โรดีเชีย 1964 ใช่ โดยพฤตินัย ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
จิบูตี 1967  ฝรั่งเศส ไม่ ไม่ ใช่
 ปวยร์โตรีโก 1967  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 ปาปัวตะวันตก 1969  อินโดนีเซีย ไม่ ไม่ ใช่
หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา 1969  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 บาห์เรน 1970  สหราชอาณาจักร ใช่ ใช่ ใช่
 นีวเว 1974  นิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่โหวตยอมรับ ได้รับสถานะรัฐพึ่งพิง ใช่ กลางเป็นรัฐพึ่งพิงของนิวซีแลนด์
คอโมโรส 1974  ฝรั่งเศส ใช่ ใช่ ใช่ มายอตยังคงอยู่กับฝรั่งเศส
 ดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก 1975  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 กวม 1976 ไม่ ไม่ ใช่
 อารูบา 1977  เนเธอร์แลนด์ ใช่ ไม่ ใช่ ยกเลิกแผนเอกราชใน ค.ศ. 1994
 จิบูตี 1977  ฝรั่งเศส ใช่ ใช่ ใช่
 เนวิส 1977 ใช่ ไม่ ไม่ การทำประชามติการเป็นเอกราชจากเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลาและได้รับสถานะคราวน์โคโลนีในจักรวรรดิบริติชอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลกลางไม่รับรอง
 รัฐเกแบ็ก 1980  แคนาดา ไม่ ไม่ ใช่
 ซิสเก 1980  แอฟริกาใต้ ใช่ โดยพฤตินัย Partial แอฟริกาใต้ให้การรับรอง แต่นานาชาติไม่รับรอง
 กวม 1982  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 ไมโครนีเชีย 1983 ใช่ ใช่ ใช่ กลายเป็นรัฐพึ่งพิงของสหรัฐ
 หมู่เกาะมาร์แชลล์ 1983 ไม่ ไม่ ใช่
 ปาเลา 1983 ไม่ ไม่ ใช่ กลายเป็นรัฐพึ่งพิงของสหรัฐ
1984 ไม่ ไม่ ใช่
 หมู่เกาะโคโคส 1984  ออสเตรเลีย ไม่ ไม่ ใช่
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ 1986  สหราชอาณาจักร ไม่ ไม่ ใช่
นิวแคลิโดเนีย 1987  ฝรั่งเศส ไม่ ไม่ ใช่
สโลวีเนีย 1990  ยูโกสลาเวีย ใช่ ใช่ ใช่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 อาร์มีเนีย 1991  สหภาพโซเวียต ใช่ ใช่ ใช่
 อาเซอร์ไบจาน 1991 ใช่ ใช่ ใช่
 โครเอเชีย 1991  ยูโกสลาเวีย ใช่ ใช่ ใช่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 เอสโตเนีย 1991  สหภาพโซเวียต ใช่ ใช่ ใช่
 จอร์เจีย 1991 ใช่ ใช่ ใช่
คอซอวา 1991  ยูโกสลาเวีย ใช่ ไม่ ไม่ ประเทศแอลเบเนียเป็นประเทศเดียวที่ให้การรับรอง
 ลัตเวีย 1991  สหภาพโซเวียต ใช่ ใช่ ใช่
 ลิทัวเนีย 1991 ใช่ ใช่ ใช่
 มาซิโดเนียเหนือ 1991  ยูโกสลาเวีย ใช่ ใช่ ใช่
 นากอร์โน-คาราบัค 1991  สหภาพโซเวียต ใช่ โดยพฤตินัย ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 ยูเครน 1991 ใช่ ใช่ ใช่
 ทรานส์นีสเตรีย 1991 ใช่ โดยพฤตินัย ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
สาธารณรัฐกากาอุซ 1991 ใช่ โดยพฤตินัย[2] ไม่ แยกจากมอลโดวาเป็นฝ่ายเดียว ภายหลังรวมประเทศใน ค.ศ. 1995
เติร์กเมนิสถาน 1991 ใช่ ใช่ ใช่
 อุซเบกิสถาน 1991 ใช่ ใช่ ใช่
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1992  ยูโกสลาเวีย ใช่ ใช่ ใช่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 มอนเตเนโกร 1992 ไม่ ไม่ ใช่ มอนเตเนโกรแยกออกจากประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 2006
 เซาท์ออสซีเชีย 1992  จอร์เจีย ใช่ โดยพฤตินัย ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 สาธารณรัฐตาตาร์สตาน 1992  รัสเซีย ใช่ ใช่ ไม่ รวมเข้ากับรัสเซียใน ค.ศ. 1994
 เอริเทรีย 1993  เอธิโอเปีย ใช่ ใช่ ใช่
 หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ 1993  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 ปวยร์โตรีโก 1993 ไม่ ไม่ ใช่
 กูราเซา 1993  เนเธอร์แลนด์ ไม่ ไม่ ใช่
 โบแนเรอ 1994 ไม่ ไม่ ใช่
 ซินต์มาร์เติน 1994 ไม่ ไม่ ใช่
 ซาบา 1994 ไม่ ไม่ ใช่
 ซินต์เอิสตาซียึส 1994 ไม่ ไม่ ใช่
 เบอร์มิวดา 1995  สหราชอาณาจักร ไม่ ไม่ ใช่
 รัฐเกแบ็ก 1995  แคนาดา ไม่ ไม่ ใช่
Seborga 1995[3]  อิตาลี ใช่ ไม่ ไม่ ถือเป็นประเทศจำลอง
Anjouan 1997  คอโมโรส ใช่ โดยพฤตินัย ไม่ รวมเข้ากับคอโมโรสใน ค.ศ. 2001
 เนวิส 1998  เซนต์คิตส์และเนวิส ใช่ ไม่ ใช่ ต้องการจำนวนผู้เลือกเป็นเอกราช 2 ใน 3
 ปวยร์โตรีโก 1998  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 ติมอร์-เลสเต 1999  อินโดนีเซีย ใช่ ใช่ ใช่
 ซินต์มาร์เติน 2000  เนเธอร์แลนด์ ไม่ ไม่ ใช่
 โซมาลีแลนด์ 2001  โซมาเลีย ใช่ โดยพฤตินัย ไม่
 โบแนเรอ 2004  เนเธอร์แลนด์ ไม่ ไม่ ใช่
 ซาบา 2004 ไม่ ไม่ ใช่
 เคอร์ดิสถานอิรัก 2005  อิรัก ใช่ ไม่ ไม่
 กูราเซา 2005  เนเธอร์แลนด์ ไม่ ไม่ ใช่
 ซินต์เอิสตาซียึส 2005 ไม่ ไม่ ใช่
 มอนเตเนโกร 2006  เซอร์เบียและมอนเตเนโกร ใช่ ใช่ ใช่
 เซาท์ออสซีเชีย 2006  จอร์เจีย ใช่ โดยพฤตินัย ไม่
 ทรานส์นีสเตรีย 2006  มอลโดวา ใช่ โดยพฤตินัย ไม่
 โตเกเลา 2006  นิวซีแลนด์ ส่วนใหญ่โหวตยอมรับ
แต่ไม่ถึงจำนวนขั้นต่ำ
ไม่ได้รับสถานะพึ่งพิง ใช่ การลงประชามติมีขึ้นว่า โตเกเลาควรเป็นรัฐพึ่งพิงของนิวซีแลนด์หรือไม่ ต้องการผลโหวตยอมรับส่วนใหญ่ในอัตรา 2 ใน 3
2007 ส่วนใหญ่โหวตยอมรับ
แต่ไม่ถึงจำนวนขั้นต่ำ
ไม่ได้รับสถานะพึ่งพิง ใช่
ทมิฬอีฬัม 2009-2010  ศรีลังกา ใช่ ไม่ ไม่ การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลศรีลังกาไม่ให้การรับรอง
 ซูดานใต้ 2011  ซูดาน ใช่[4] ใช่ ใช่
 ปวยร์โตรีโก 2012  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
ดอแนตสก์ 2014  ยูเครน ใช่[5] โดยพฤตินัย[6] ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
ลูฮันสก์ 2014 ใช่[5] โดยพฤตินัย[6] ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว
 แคว้นเวเนโต 2014  อิตาลี ใช่ ไม่ ไม่ การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลอิตาลีไม่ให้การรับรอง
 สกอตแลนด์ 2014  สหราชอาณาจักร ไม่ ไม่ ใช่
แคว้นกาตาลุญญา 2014  สเปน ใช่ ไม่ ไม่
 ซินต์เอิสตาซียึส 2014  เนเธอร์แลนด์ ไม่ ไม่ ใช่
บราซิลใต้ 2016  บราซิล ใช่ ไม่ ไม่ การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลบราซิลไม่ให้การรับรอง
 ปวยร์โตรีโก 2017  สหรัฐ ไม่ ไม่ ใช่
 เคอร์ดิสถานอิรัก 2017  อิรัก ใช่ ไม่[7] ไม่ การจัดประชามติจัดขั้นในดินแดนพิพาทในอิรักเหนือ
แคว้นกาตาลุญญา 2017  สเปน ใช่ ไม่[8] ไม่ ประกาศเอกราชเพียงฝ่ายเดียว รัฐบาลสเปนประกาศให้เป็นโมฆะ[9]
บราซิลใต้ 2017  บราซิล ใช่ ไม่ ไม่ การลงประชามติอย่างไม่เป็นทางการ รัฐบาลบราซิลไม่ให้การรับรอง
 นิวแคลิโดเนีย 2018  ฝรั่งเศส ไม่ ไม่ ใช่
 บูเกนวิลล์ 2019  ปาปัวนิวกินี ใช่ ขึ้นอยู่กับการเจรจา[10] ใช่ การลงคะแนนแบบไม่ผูกมัด[11] ความเป็นเอกราชขึ้นอยู่กับรัฐสภาปาปัวนิวกินี[12]
 นิวแคลิโดเนีย 2020  ฝรั่งเศส ไม่ ไม่[13] ใช่
2021 ไม่ ไม่ ใช่ คว่ำบาตรโดยพรรคที่สนับสนุนเอกราช[14]


ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Walling, A. Wati; Agrawal, Ankush; Phom, B. Henshet (1 January 2018). Democracy In Nagaland: Tribes, Traditions, and Tensions (ภาษาอังกฤษ). Highlander Press. ISBN 9780692070314.
  2. Marcin Kosienkowski (2017) The Gagauz Republic: An Autonomism-Driven De Facto State The Soviet and Post-Soviet Review, volume 44, no. 3, pp292–313
  3. Roth, Christopher F. (March 2015). Let's Split! A Complete Guide to Separatist Movements and Aspirant Nations, from Abkhazia to Zanzibar (PDF). Litwin Books, LLC. p. 90. In 1995, Giorgio held a referendum, with Seborgans opting for independence 304-4.
  4. South Sudan backs independence – results
  5. 5.0 5.1 "In eastern Ukraine, polls close amid allegations of double-voting - CNN.com". CNN. 11 May 2014. สืบค้นเมื่อ 30 September 2014.
  6. 6.0 6.1 "Russia Praises Ukraine's Autonomy Law for Rebel Areas". WSJ. 17 September 2014. สืบค้นเมื่อ 30 September 2014.
  7. "Iraqi Kurds offer to 'freeze' independence referendum result". BBC. 25 October 2017. สืบค้นเมื่อ 27 October 2017.
  8. Catalonia independence: Spain takes charge of Catalan government BBC News, 28 October 2017
  9. Suspendida la declaración de independencia de Cataluña (ในภาษาสเปน)
  10. Lyons, Kate (2019-12-10). "Bougainville referendum: region votes overwhelmingly for independence from Papua New Guinea". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 2019-12-11.
  11. "Bougainville referendum not binding - PM". Radio New Zealand (ภาษาอังกฤษ). 2019-03-11. สืบค้นเมื่อ 2019-03-18.
  12. Mckenna, Kylie; Ariku, Emelda (19 November 2021). "Bougainville independence: recalling promises of international help". The Interpreter. สืบค้นเมื่อ 3 December 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  13. Sartre, Julien; Doherty, Ben (4 October 2020). "New Caledonia rejects independence from France for second time". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 4 October 2020.
  14. "New Caledonia pro-independence parties reject referendum result". Al Jazeera. 13 December 2021. สืบค้นเมื่อ 14 December 2021.