เขตปกครองตนเองบูเกนวิลล์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตปกครองตนเองบูเกนวิลล์

Otonomos Region bilong Bogenvil
ธงชาติบูเกนวิลล์
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของบูเกนวิลล์
ตราแผ่นดิน
คำขวัญสันติภาพ, เอกภาพ, ความรุ่งเรือง
6°0′S 155°0′E / 6.000°S 155.000°E / -6.000; 155.000
เมืองหลวงบูกา
6°0′S 155°0′E / 6.000°S 155.000°E / -6.000; 155.000
เมืองใหญ่สุดอาราวา
ภาษาราชการอังกฤษ, ตอกปีซิน
ภาษาอื่น ๆ
การปกครองเขตปกครองตนเอง
อิชมาเอล โตโรอามา
แพทริก นีซีรา
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร
ก่อตั้ง
• สถานะปกครองตนเอง
25 มิถุนายน พ.ศ. 2545
7 ธันวาคม พ.ศ. 2562
พื้นที่
• รวม
9,384 ตารางกิโลเมตร (3,623 ตารางไมล์)
ประชากร
• 2554 ประมาณ
249,358
เอชดีไอ (2562)เพิ่มขึ้น 0.595[2]
ปานกลาง
สกุลเงินกีนาปาปัวนิวกินี (PGK)
เขตเวลาUTC+11 (เวลามาตรฐานบูเกนวิลล์)
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัสโทรศัพท์+675

บูเกนวิลล์ (อังกฤษ: Bougainville; ตอกปีซิน: Bogenvil[3][4]) หรือชื่อทางการว่า เขตปกครองตนเองบูเกนวิลล์ (Autonomous Region of Bougainville[5]; ตอกปีซิน: Otonomos Region bilong Bogenvil) และเคยเป็นที่รู้จักในชื่อ หมู่เกาะนอร์ทโซโลมอน (North Solomons) เป็นเขตปกครองตนเองในประเทศปาปัวนิวกินี เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะบูเกนวิลล์ (ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มเกาะโซโลมอนด้วย) เขตนี้ยังครอบคลุมเกาะบูกาและหมู่เกาะใกล้เคียงรวมถึงหมู่เกาะคาร์เทอริต เขตปกครองตนเองแห่งนี้มีประชากรจำนวน 249,358 คน (จากสำมะโนประชากร พ.ศ. 2554)

ในทางนิเวศวิทยาและภูมิศาสตร์ เกาะบูเกนวิลล์เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะโซโลมอน แต่ในทางการเมืองไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของประเทศหมู่เกาะโซโลมอน เกาะบูกา, บูเกนวิลล์ และส่วนใหญ่ของหมู่เกาะโซโลมอนเป็นส่วนหนึ่งของภูมินิเวศป่าฝนหมู่เกาะโซโลมอน ความหลากหลายทางชีวภาพในเขตปกครองตนเองแห่งนี้ถูกคุกคามอย่างหนักจากกิจกรรมเหมืองแร่ซึ่งส่วนใหญ่ดำเนินการโดยนักลงทุนต่างชาติ[6]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "AUTONOMOUS REGION OF BOUGAINVILLE : Bougainville Flag, Emblem and Anthem (Protection) Bill 2018" (PDF). Abg.gov.pg. สืบค้นเมื่อ 28 June 2019.
  2. "Sub-national HDI - Area Database - Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-18.
  3. "Bogenvil". Tok Pisin English Dictionary. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-25. สืบค้นเมื่อ 4 December 2019.
  4. "K20 milien bilong Bogenvil referendem". Loop PNG. 6 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-29. สืบค้นเมื่อ 4 December 2019.
  5. "The Constitution of the Autonomous Region of Bougainville" (PDF). abg.gov.pg/key-documents. Autonomous Bougainville Government. p. 28, S41.
  6. Davidson, Helen (10 January 2018). "Bougainville imposes moratorium on Panguna mine over fears of civil unrest". the Guardian.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Gillespie, Waratah Rosemarie (2009). Running with Rebels: Behind the Lies in Bougainville's hidden war. Australia: Ginibi Productions. ISBN 978-0-646-51047-7.
  • Oliver, Douglas (1973). Bougainville: A Personal History. Melbourne: Melbourne University Press.
  • Oliver, Douglas (1991). Black Islanders: A Personal Perspective of Bougainville, 1937–1991. Melbourne: Hyland House. Repeats text from previous 1973 reference and updates with summaries of Papua New Guinea press reports on the Bougainville Crisis.{{cite book}}: CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  • Pelton, Robert Young (2002). Hunter Hammer and Heaven, Journeys to Three World's Gone Mad. Guilford, Conn.: Lyons Press. ISBN 1-58574-416-6.
  • Quodling, Paul. Bougainville: The Mine and the People.
  • Regan, Anthony; Griffin, Helga, บ.ก. (2005). Bougainville Before the Crisis. Canberra: Pandanus Books.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]