เครือรัฐเอกราช
หน้าตา
เครือรัฐเอกราช Содружество Независимых Государств (รัสเซีย) | |
---|---|
ศูนย์กลางบริหาร | |
เมืองใหญ่สุด | มอสโก |
ภาษาราชการ | รัสเซีย |
ภาษาชนกลุ่มน้อย | |
ประเภท | ระหว่างรัฐบาล |
สมาชิก | 9 รัฐสมาชิก
1 รัฐสมาชิกร่วม 1 รัฐสังเกตการณ์ |
ผู้นำ | |
เซอร์เกย์ เลเบเดฟ | |
• ประธาน | วาเลนตินา มัตวิเยนโก |
• หัวหน้า | คาซัคสถาน |
สภานิติบัญญัติ | Interparliamentary Assembly[3] |
ก่อตั้ง | |
8 ธันวาคม 1991 | |
21 ธันวาคม 1991 | |
22 มกราคม 1993 | |
20 กันยายน 2012 | |
พื้นที่ | |
• รวม | 20,368,759[4] ตารางกิโลเมตร (7,864,422 ตารางไมล์) |
ประชากร | |
• 2018 ประมาณ | 236,446,000 (ไม่รวมไครเมีย) |
11.77 ต่อตารางกิโลเมตร (30.5 ต่อตารางไมล์) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 5.378 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ |
• ต่อหัว | 22,745 ดอลลาร์สหรัฐ |
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2020 (ประมาณ) |
• รวม | 1.828 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ |
• ต่อหัว | 7,732 ดอลลาร์สหรัฐ |
เอชดีไอ (2017) | 0.740 สูง |
สกุลเงิน | ไม่มีสกุลเงินทั่วไปa9 ประเทศสมาชิก
|
เขตเวลา | UTC+2 ถึง +12 |
ขับรถด้าน | ขวามือ |
โดเมนบนสุด | .ru, .by, .am, .kz, .kg, .az, .md, .tj, .uz |
เว็บไซต์ e-cis | |
a รูเบิลโซเวียตใน ค.ศ. 1991 ถึง 1994 |
เครือรัฐเอกราช (อังกฤษ: Commonwealth of Independent States หรือ CIS; รัสเซีย: Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก)
ประเทศสมาชิก
[แก้]- สมาชิกปัจจุบัน
ประเทศ[5] | ข้อตกลง/สัตยาบัน | กฎบัตรให้สัตยาบัน | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
อาร์มีเนีย | 18 ก.พ. 1992 | 16 มี.ค. 1994 | สมาชิกผู้ก่อตั้ง |
อาเซอร์ไบจาน | 24 ก.ย. 1993 | 24 ก.ย. 1993 | |
เบลารุส | 10 ธ.ค. 1991 | 18 ม.ค. 1994 | สมาชิกผู้ก่อตั้ง |
คาซัคสถาน | 23 ธ.ค. 1991 | 20 เม.ย. 1994 | สมาชิกผู้ก่อตั้ง |
คีร์กีซสถาน | 6 มี.ค. 1992 | 12 เม.ย. 1994 | สมาชิกผู้ก่อตั้ง |
มอลโดวา | 8 เม.ย. 1994 | 15 เม.ย. 1994 | |
รัสเซีย | 12 ธ.ค. 1991 | 20 ก.ค. 1993 | สมาชิกผู้ก่อตั้ง |
ทาจิกิสถาน | 26 มิ.ย. 1993 | 4 ส.ค. 1993 | |
อุซเบกิสถาน | 4 ม.ค. 1992 | 9 ก.พ. 1994 | สมาชิกผู้ก่อตั้ง |
- ผู้ให้สัตยาบันข้อตกลงการก่อตั้ง
ประเทศ[5] | ข้อตกลง/สัตยาบัน | กฎบัตรให้สัตยาบัน | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
เติร์กเมนิสถาน | 26 ธ.ค. 1991 | ไม่ได้ให้สัตยาบัน | "สมาชิกผู้ก่อตั้ง" ไม่เคยเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบ เป็น "รัฐภาคี" ตั้งแต่ปี 2005 |
ยูเครน | 10 ธ.ค. 1991 | ไม่ได้ให้สัตยาบัน | "สมาชิกผู้ก่อตั้ง" ไม่เคยเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบ เป็น "รัฐภาคี" ตั้งแต่ปี 1994 ถึง 2018[6] ส่วนใหญ่ไม่เข้าร่วมในเครือรัฐเอกราช ตั้งแต่ปี 2014 และถอนตัวแทนออกจากหน่วยงานตามกฎหมายทั้งหมดของเครือรัฐเอกราช ในปี 2018 อันเป็นผลมาจากสงครามรัสเซีย–ยูเครน[7] |
- รัฐสังเกตการณ์
ประเทศ | ได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์ | กฎบัตรให้สัตยาบัน | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน | 2006 | ไม่ได้ให้สัตยาบัน | เข้าร่วมเป็นรัฐผู้สังเกตการณ์ในปี 2006[8] สถานะที่เป็นปัญหาตั้งแต่การยึดอัฟกานิสถานโดยกลุ่มตอลิบานในเดือนสิงหาคม 2021 |
มองโกเลีย | 2008 | ไม่ได้ให้สัตยาบัน | [2] |
- อดีตสมาชิก
ประเทศ | ข้อตกลง/สัตยาบัน | กฎบัตรให้สัตยาบัน | ลาออก | มีผล | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
จอร์เจีย | 3 ธ.ค. 1993 | 19 เม.ย. 1994 | 18 ส.ค. 2008 | 18 ส.ค. 2009 | ลาออกในช่วงสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย ปี 2008 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Taylor & Francis (2020). "Republic of Crimea". The Territories of the Russian Federation 2020. Routledge. ISBN 978-1-003-00706-7.
Note: The territories of the Crimean peninsula, comprising Sevastopol City and the Republic of Crimea, remained internationally recognised as constituting part of Ukraine, following their annexation by Russia in March 2014.
- ↑ 2.0 2.1 "Грузия проиграла, а СНГ будет жить вечно!". Обозреватель. 19 August 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 May 2011. สืบค้นเมื่อ 14 January 2018.
- ↑ "Commonwealth of Independent States – Ministry of Foreign Affairs of the Republic of Belarus". mfa.gov.by. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2017. สืบค้นเมื่อ 23 August 2017.
- ↑ Corresponds to the terrestrial surface. Including the Exclusive Economic Zones of each member state, the total area is 28 509 317 km².
- ↑ 5.0 5.1 "Сведения о ратификации документов, принятых в рамках СНГ в 1991 – 2014 годах". Commonwealth of Independent States. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 November 2012. สืบค้นเมื่อ 10 October 2014.
- ↑ d'Anieri, Paul J. (July 1999). Economic Interdependence in Ukrainian-Russian Relations. ISBN 9780791442463. สืบค้นเมื่อ 25 September 2014.
- ↑ Ponomarenko, Illia (19 May 2018). "Ukraine withdraws all envoys from CIS bodies". Kyiv Post. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 May 2018. สืบค้นเมื่อ 20 May 2018.
- ↑ "Inter-Parliamentary Assembly of the Member States of the Commonwealth of Independent States (IPA CIS)". Federation Council of the Federal Assembly of Russia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-16. สืบค้นเมื่อ 14 June 2022.