ฆาเซิม-โฌมาร์ต โตกาเยฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฆาเซิม-โฌมาร์ต โตกาเยฟ
โตกาเยฟในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565
ประธานาธิบดีคาซัคสถาน คนที่ 2
เริ่มดำรงตำแหน่ง
20 มีนาคม พ.ศ. 2562[1]
นายกรัฐมนตรีอัสการ์ มามิน
Alihan Smaiylov
Roman Sklyar (รักษาการ)
โวลฌัส เบียกเตียนัฟ
ก่อนหน้านูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ
ประธานวุฒิสภาคาซัคสถาน คนที่ 4
ดำรงตำแหน่ง
16 ตุลาคม พ.ศ. 2556 – 19 มีนาคม พ.ศ. 2562
ประธานาธิบดีนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ
นายกรัฐมนตรีอัสการ์ มามิน
ก่อนหน้าKairat Mami
ถัดไปDariga Nazarbayeva
ดำรงตำแหน่ง
11 มกราคม พ.ศ. 2560 – 15 เมษายน พ.ศ. 2554
ประธานาธิบดีนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ
ก่อนหน้าNurtai Abykayev
ถัดไปKairat Mami
ผู้อำนวยการสำนักงานสหประชาชาติ
ณ นครเจนีวา
คนที่ 11
ดำรงตำแหน่ง
12 มีนาคม พ.ศ. 2554 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ก่อนหน้าSergei Ordzhonikidze
ถัดไปMichael Møller
นายกรัฐมนตรีคาซัคสถาน คนที่ 4
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2542 – 28 มกราคม พ.ศ. 2545
ประธานาธิบดีนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ
ก่อนหน้าNurlan Balgimbayev
ถัดไปImangali Tasmagambetov
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
ฆาเซิม-โฌมาร์ต เกเมลูเลอ โตกาเยฟ

17 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (70 ปี)
อัลมา-อาตา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค สหภาพโซเวียต (ปัจจุบันคืออัลมาเตอ คาซัคสถาน)
เชื้อชาติคาซัคสถาน
พรรคการเมืองอิสระ (2534–2542, 2565–ปัจจุบัน)
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
CPSU (ก่อน พ.ศ. 2534)
Amanat (2542–2565)
คู่สมรสNadezhda Tokayeva (สมรส 1980; 2020)
บุตร1 คน
ที่อยู่อาศัยอาโกร์ดา
ศิษย์เก่าสถาบันความสัมพันธร์ระหว่างประเทศแห่งรัฐมอสโก
เว็บไซต์akorda.kz
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ คาซัคสถาน
สังกัดกองทัพคาซัคสถาน
ประจำการ2562–ปัจจุบัน
ยศ
ผู้บัญชาการสูงสุด

ฆาเซิม-โฌมาร์ต เกเมลูเลอ โตกาเยฟ (คาซัค: Қасым-Жомарт Кемелұлы Тоқаев, อักษรโรมัน: Qasym-Jomart Kemelūly Toqaev, [qɑˈsɯm ʒɔˈmɑrt kʲeˌmelʊˈlɯ tɔˈqɑjɪf], รัสเซีย: Касы́м-Жома́рт Кеме́левич Тока́ев;[2] เกิดวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองและนักการทูตชาวคาซัค เขาเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีคาซัคสถานเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2562[3][4] สืบต่อจากนูร์ซุลตัน นาซาร์บายิฟ ซึ่งลาออกในวันที่ 19 มีนาคม หลังจากอยู่ในตำแหน่งมาเป็นเวลา 29 ปี[5] โตกาเยฟได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งก่อนครบวาระเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ด้วยคะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งร้อยละ 71[6] จากรายงานขององค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป (โอเอสซีอี) พบว่าในวันเลือกตั้งมีความผิดปกติอย่างมีนัยสำคัญซึ่งรวมถึงการลงไพ่ไฟ (การนำบัตรผีใส่หีบบัตรเลือกตั้ง) และการไม่ใส่ใจกระบวนการนับคะแนนหมายความว่าไม่สามารถรับประกันการนับคะแนนอย่างโปร่งใสได้ นอกจากนี้ยังมีการควบคุมตัวผู้ประท้วงอย่างสันติเป็นจำนวนมากตามเมืองใหญ่ ๆ ในวันเลือกตั้ง[7]

โตกาเยฟเป็นประธานวุฒิสภาคาซัคสถานระหว่างวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2560 ถึง 15 เมษายน พ.ศ. 2554 และระหว่างวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง 19 มีนาคม พ.ศ. 2562[8] เขาปฏิบัติหน้าที่ในฐานะนายกรัฐมนตรีคาซัคสถานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2542 ถึง 28 มกราคม พ.ศ. 2545 และในฐานะผู้อำนวยการสำนักงานสหประชาชาติ ณ นครเจนีวา ระหว่างวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2554 ถึง 16 ตุลาคม พ.ศ. 2556

อ้างอิง[แก้]

  1. "Archived copy" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2021. สืบค้นเมื่อ 11 January 2022.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  2. "Президент Республики Казахстан. Токаев Касым-Жомарт Кемелевич". Official site of the President of the Republic of Kazakhstan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-28. สืบค้นเมื่อ 2022-01-08.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  3. "Tokayev sworn in as Kazakhstan's interim president". TASS. 20 มีนาคม 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 มีนาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2019.
  4. "Tokayev sworn in as Kazakhstan's interim president". TASS. 20 มีนาคม 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มีนาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2019.
  5. "Kazakh President Nazarbaev Abruptly Announces Resignation". RadioFreeEurope/RadioLiberty. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 มีนาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 19 มีนาคม 2019.
  6. "Tokayev wins Kazakhstan's presidency with 70.76 percent of vote, official preliminary results say". The Astana Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-10. สืบค้นเมื่อ 2019-07-18.
  7. "Statement of Preliminary Findings and conclusions". Osce.org. สืบค้นเมื่อ 16 June 2019.
  8. "Kairat Mami to be the new Senate Speaker". Tengrinews.kz. 15 เมษายน 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 มีนาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]